คลังเก็บป้ายกำกับ: การออกแบบ แบบสอบถาม

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

บริการรับทำ SPSS ทั่วประเทศ ส่งงานผ่านระบบออนไลน์

ทางบริษัทฯ เรารับทำ SPSS วิเคราะห์ข้อมูลสถิติทุกรูปแบบ ท่านสามารถติดต่อหาเราได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นการขอรับคำปรึกษา หรือสอบถามรายเอียดการทำงานก่อนทำการตัดสินใจว่าจ้างกับทางบริษัทฯ เราพร้อมให้บริการท่านตลอด 24 ชม.

เราทำงานผ่านระบบออนไลน์ มีช่องทางการติดต่อหลายช่องทาง เพื่อความสะดวกสบายของท่านในการติดต่อรับว่าจ้างงาน โดยที่ท่านไม่ต้องเสียเวลาเดินทาง ไม่ต้องเสียค่าจัดส่งเอกสารให้เปลืองเงินในกระเป๋า และท่านสามารถรับงานได้ทันทีที่งานเสร็จสมบูรณ์ผ่านระบบออนไลน์ได้อย่างสบายใจ

หมดกังวลเรื่องราคารับทำ SPSS ราคาถูกและเหมาะสม

ในขั้นตอนการรับทำ SPSS นั้น ล้วนมีกระบวนการที่ค่อนข้างซับซ้อน เพราะส่วนใหญ่ลูกค้าจะทำการว่าจ้าง โดยการให้เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างงานวิจัยของลูกค้าร่วมด้วย ก่อนนำมาคีย์ข้อมูลลงในโปรแกรม SPSS เพื่อทำการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลออกมา

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA

เพื่อให้ได้ชิ้นงานที่มีคุณภาพ ควบถ้วนสมบูรณ์ ตรงตามความต้องการที่ลูกค้ากำหนด ราคาที่ทางบริษัทประเมินนั้น จึงขึ้นอยู่กับกระบวนการและความซับซ้อนของงาน ที่สำคัญคือระยะเวลาที่ลูกค้ากำหนดรับงาน

มีคลิปวิดีโอช่วยสอน และลิงก์ข้อมูลให้อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์

ทางบริษัทฯ เราไม่ได้แค่จะรับทำ SPSS ให้กับท่านเพียงอย่างเดียว เรายังมีบริการให้คำปรึกษาในด้านความรู้เกี่ยวกับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ในงานวิจัย โดยเฉพาะลูกค้าหรือผู้ว่าจ้างที่ขาดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์แล้ว ท่านคงรู้สึกกังวลและอึดอัดใจ

เพราะต่อให้งานวิจัย วิทยานิพนธ์ของท่านสมบูรณ์เพียงใด แต่ถ้าหากท่านไม่สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ในงานวิจัยได้ ท่านคิดว่าอาจารย์ที่ปรึกษา และคณะกรรมการ จะให้ท่านผ่านหรือไม่ 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

อย่างที่เราเคยกล่าวไว้ในบทความก่อนๆ ในการทำ SPSS ว่า “เราไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐานในการใช้โปรแกรม SPSS ขอแค่มีความรู้พื้นฐานในการนำเสนอข้อมูลทางสถิติก็เพียงพอ”

ดังนั้น บริการรับทำ SPSS ที่ทางบริษัทฯ เราให้บริการลูกค้าจะไม่ได้แค่ชิ้นงานที่ว่าจ้างเท่านั้น เรายังมีบริการช่วยสอนให้ท่านได้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ในงานวิจัยของท่าน ผ่านคลิปวิดีโอและลิงก์ข้อมูลที่ทางทีมงานของเราได้จัดทำไว้ เพื่อให้ท่านสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง ช่วยสร้างความมั่นใจในการนำเสนอข้อมูลเสมือนกับท่านทำเองทุกขั้นตอน

ส่งงานตรงเวลา ไม่มีผิดสัญญา เพราะความเป็นมืออาชีพ

ด้วยทีมงานรับทำวิจัย รับทำงานวิทยานิพนธ์ที่เป็นมืออาชีพมีความเชี่ยวชาญผ่านประสบการณ์การทำงานวิจัยมาแล้วมากมาย มีการทำงานอย่างเป็นระบบ พร้อมใส่ใจในการสร้างสรรค์ให้งานวิจัยทุกชิ้นออกมาให้มีคุณภาพ ลูกค้าหรือผู้ว่าจ้างสามารถวางใจได้ว่างานวิจัยที่ท่านได้ทำการว่าจ้างนั้นถูกต้องตามหลักกระบวนการทุกขั้นตอน และที่สำคัญส่งงานตรงเวลาที่ท่านกำหนดอย่างแน่นอน

ไม่ว่าลูกค้าหรือผู้ว่าจ้างจะอยู่ที่ใด กำลังเผชิญปัญหาที่เกี่ยวกับการทำงานวิจัย ให้เราเป็นตัวช่วยให้กับท่าน เพียงติดต่อมาหาเราได้ช่องทางติดต่อด้านล่างนี้ครับ

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638
คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

รับคีย์ข้อมูล SPSS หน้าละ 1.50 บาท ไม่จำกัดขั้นต่ำ

บริการรับคีย์ข้อมูล SPSS แบบสอบถาม ด้วยโปรแกรม SPSS พร้อมวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลงานวิจัยทางสถิติขั้นพื้นฐานหรือสถิติชั้นสูง ด้วยโปรแกรม SPSS 

เช่น ค่าเฉลี่ย (mean) มัธยฐาน (Median) ความแปรปรวน (variance) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) สัมประสิทธิ์ความแปรปรวน (coefficient of variation, CV) , MAX-MIN, One-way Anova, Two-way Anova, F-test T-test, Regression, Correlation, Factor Analysis เป็นต้น 

รับรองคุณภาพถูกต้องแม่นยำตามรูปแบบการวิจัย กล้ารับประกันว่าข้อมูลที่ได้ทำการวิเคราะห์สามารถนำมาแปลข้อมูลและใช้งานได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ 

ไม่มีขั้นต่ำ ไม่จำกัดจำนวน  ในอัตราแผ่นละ 1.50 บาท 

เพราะในการทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ในแต่ละครั้ง จะต้องสร้างแบบสอบถามเพื่อใช้สำรวจในงานวิจัย โดยการตั้งคำถามเชิงปริมาณ และคำถามเชิงคุณภาพตามวัตถุประสงค์ในการวิจัย ซึ่งชุดแบบสอบถามนั้นจะมากน้อยก็ขึ้นอยู่กับจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่กำหนดไว้ เพื่อทำการรวบรวมและนำมาวิเคราะห์ให้ได้ข้อสรุปในการตอบคำถามในงานวิจัยของท่าน

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

ในการรับคีย์ข้อมูล SPSS แบบสอบถาม เพื่อใช้ในการประมวลผลวิเคราะห์ข้อมูลที่ทางบริษัทฯ เรา รับทำนั้น เริ่มต้นในอัตราแผ่นละ 1.50 บาท โดยทางบริษัทฯ เรา ไม่มีการกำหนดขั้นต่ำ หรือจำกัดจำนวนในการรับทำแต่อย่างใด โดยคิดราคาตามจำนวนที่รับทำตามอัตราจริงที่ได้กำหนดไว้

เพราะสิ่งที่ทางบริษัทฯ เรา ต้องการคือ การมอบความสะดวกสบายในแก่ลูกค้าหรือผู้ว่าจ้าง เพื่อต้องการเป็นแรงสนับสนุนส่วนหนึ่งในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยของท่านให้ออกมาครบถ้วนสมบูรณ์ และประสบผลสำเร็จ 

สะดวกสบาย ผ่านระบบออนไลน์รอรับงาน ไม่เกิน 3 วัน

ด้วยทีมงานวิจัยที่มีประสบการณเชี่ยวชาญในการทำวิจัย ทำวิทยานิพนธ์ มาอย่างยาวนาน ไม่ว่าจะเป็นการรับทำวิจัย ทำวิทยานิพนธ์ การรับคีย์ข้อมูล SPSS หรือการวิเคราะห์ข้อมูลในเวลาเร่งด่วน ลูกค้าหรือผู้ว่าจ้างสามารถเชื่อมั่นได้ว่างานที่ทางบริษัทฯ เรา ได้ตกลงรับทำนั้น ท่านจะได้รับภายในระยะเวลาไม่เกิน 3 วัน

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

ซึ่งทางบริษัทฯ เราคำนึงถึงความสะดวกสบายของลูกค้าหรือผู้ว่าจ้างเป็นสำคัญ และมั่นใจในระบบการทำงานที่จัดวางอย่างเป็นระบบ และช่องทางในการติดต่อสื่อสารที่ไร้ขอบเขต เพื่อการติดต่อประสานงานกับทางบริษัทฯ เรา ได้อย่างราบรื่นและรวดเร็ว และต้องการช่วยลดการใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น ไม่ต้องเสียเวลากับการเดินทางในการจัดส่งเอกสารข้อมูลที่ท่านหรือการเสียค่าใช้จ่ายซ้ำซ้อนต่างๆ 

โดยลูกค้าหรือผู้ว่าจ้างสามารถจัดส่งข้อมูลที่ท่านได้ทำการเก็บรวบรวม สามารถจัดส่งผ่านรูปแบบไฟล์ข้อมูลต่างๆ (ไฟล์ Word, PDF. เป็นต้น) ให้เราผ่านช่องทางระบบออนไลน์ที่ทางบริษัทฯ เรา เปิดรับได้ทันที และรอรับงานได้ภายใน 3 วัน 

รับรองคุณภาพความถูกต้องแม่นยำ ข้อมูลที่ทางบริษัทฯ ได้ทำการวิเคราะห์สามารถนำไปใช้งานจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการที่ของลูกค้าหรือผู้ว่างจ้างที่กำหนดไว้ ส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด โดยทีมงานที่มีความรู้เฉพาะด้านมากด้วยประสบการณ์

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

เทคนิคหลักการวิเคราะห์ข้อมูล ทำอย่างไรให้เสร็จไว

บทความนี้ ทางเรามี 5 เทคนิคหลักการวิเคราะห์ข้อมูล ทำอย่างไรให้เสร็จไว สําหรับคุณที่กำลังมีปัญหาการทํางานวิจัยเชิงปริมาณ ว่าจะมีเทคนิคอะไรบ้าง และต้องเริ่มต้นจากตรงไหนก่อน มาแนะนำ

เทคนิควิธีที่ 1 ตัวอย่างงานวิจัย หรือผลงานวิจัยที่เข้าใจง่าย

การวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยเชิงปริมาณ หากคุณขาดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิเคราะห์สถิติ หรือไม่มีความชำนาญในการใช้สถิติในการวิจัยที่มากพอ เพราะว่าการสถิติที่ใช้ในการวิจัยมีรูปแบบที่แตกต่างกัน

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

สิ่งแรกที่คุณต้องตระหนักถึง คือ ศึกษาจากตัวอย่างงานวิจัยเล่มที่ทำการศึกษาสำเร็จแล้ว ที่มีการวิเคราะห์สถิติที่ใกล้เคียงกับงานวิจัยที่คุณจะทำการศึกษามาเป็นตัวอย่าง จะทําให้คุณทราบแนวทางว่างานวิจัยของคุณที่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ควรจะทำการวิเคราะห์ออกมาในรูปแบบใด เพื่อที่จะให้ตอบโจทย์กัวัตถุประสงค์ของการวิจัยของคุณ

เทคนิคที่ 2 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติที่ตนเองเข้าใจง่าย

หากคุณใช้การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติที่ตนเองมีความเข้าใจ หรือมีความถนัดนั้นย่อมง่ายกว่าการที่คุณจะเรียนรู้วิธีการวิเคราะห์สถิติใหม่ที่คุณไม่เข้าใจ เช่น สถิติขั้นสูง อย่าง Factor Analysis,  Multiple regression ซึ่งสิ่งดังกล่าวนี้ เป็นสิ่งที่ทําให้เสียเวลาในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเป็นอย่างมาก

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

เนื่องจากว่า เป็นความจริงที่ผู้วิจัยแต่ละคนนั้น มีความเข้าใจหรือความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ และไม่เก่งโปรแกรมสถิติได้ไม่เท่าเทียมกัน และแน่นอนว่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ส่วนใหญ่นั้น หากคุณไม่เข้าใจย่อมจะไม่สามารถทํางานวิจัยที่ออกมาตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้

เทคนิคที่ 3 เลือกใช้โปรแกรมที่ตนเองเข้าใจง่าย

มีโปรแกรมมากมายที่เป็นโปรแกรมวิเคราะห์สถิติที่สามารถให้คุณโหลดใช้ฟรี โดยที่ไม่คิดค่าบริการเลือกใช้โปรแกรม และคุณสามารถเรียนรู้วิธีการใช้และเข้าใจได้โดยง่ายเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสถิติพื้นฐาน หรือใช้ฟรีพื้นฐานที่มีการแจกจ่ายทางอินเตอร์เน็ตในการวิจัยเพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

เทคนิคที่ 4 การกําหนดรหัสการลงข้อมูลคีย์ข้อมูล และตรวจสอบข้อมูล

การกําหนดรหัสข้อมูลของแบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัยอย่างชัดเจน และมีการเลขข้อลําดับข้อมูลอย่างสอดคล้องกับหลักการทางสถิติ โดยเฉพาะการคีย์ข้อมูลที่คุณจําเป็นจะต้องตรวจสอบข้อมูลที่ทำการบันทึกทีละแถว ทีละลําดับอย่างถูกต้องและมีการตรวจทานทุกครั้ง สองรอบเป็นอย่างน้อย เพื่อให้ข้อมูลสอดคล้องกับความเป็นจริง

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

อีกทั้งจะต้องมีการรีเช็คค่า Missing ก่อนทำการวิเคราะห์ข้อมูลทุกครั้ง ว่ามีการประมวลผลโดยที่ไม่มีการเว้นช่องว่างในสถิติเพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลออกมาได้ครบถ้วนและตรงประเด็น และไม่มีข้อผิดพลาด Error ของผลการวิจัยทางสถิติดังกล่าว

เทคนิค ข้อที่ 5 การสร้างข้อมูลแบบฟอร์มตารางเตรียมพร้อมไว้ 

ทุกครั้งที่คุณวิเคราะห์สถิติ จําเป็นที่จะต้องรู้ว่าสถิติที่คุณใช้จะต้องมีสถิติใดบ้าง ดังนั้นย่อมเป็นการง่ายคุณจะสร้างตารางแบบฟอร์มไว้ก่อน ว่าตารางดังกล่าวเป็นตารางสถิติใดบ้าง เพื่อที่จะให้คุณนําผลจาก Output ที่สถิติวิเคราะห์ประมวลผลได้นั้น

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

นําข้อมูลดังกล่าว คัดลอกมาเพื่อวางในตารางที่คุณทําไว้ก่อนเบื้องต้นได้แล้ว ซึ่งจะทําให้คุณสามารถที่จะเสร็จงานได้ไวและป้องกันการสับสนของข้อมูลทั้งหมด

ทั้ง 5 เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลนี้เป็นวิธีที่จะทําให้คุณสามารถวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงปริมาณได้อย่างมีประสิทธิภาพครับ

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

สร้างแบบสอบถาม ให้สอดคล้องกับหัวข้อวิจัยอย่างไรดี

ในการทำงานวิจัยในแต่ละหัวข้อนั้น จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มประชากรตัวอย่าง โดยเฉพาะงานวิจัยเชิงปริมาณสิ่งสําคัญคือ การสร้างแบบสอบถามของการวิจัย ให้ตอบกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัยที่ได้ทำการตั้งไว้

โดยเฉพาะ กรอบแนวคิดการวิจัย เพื่อใช้ในการกําหนดตัวแปรอิสระ ตัวแปรต้น และตัวแปรตาม ให้มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของงานวิจัย

เริ่มจากทำการกำหนดแนวคิดการวิจัยให้ชัดเจน

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

เป็นสิ่งสําคัญอันดับแรกที่ผู้วิจัยทุกคนจะต้องทำการกําหนดให้ชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้นทำงานวิจัย เพื่อนำตัวแปรเหล่านั้น มาใช้ในการสร้างแบบสอบถามการวิจัย 

หลังจากกําหนดกรอบแนวคิดของการวิจัยเรียบร้อยแล้ว จึงย้อนมากำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย คําถามการวิจัย สมมุติฐานการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตของการวิจัยด้านตัวแปร หรือขอบเขตของการวิจัยด้านเนื้อหา ที่ทําการศึกษาต่างๆ เป็นต้น

ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่สามารถใช้สนับสนุนกรอบแนวคิดได้อย่างชัดเจน

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

การสร้างแบบสอบถามที่ดี จะต้องมีการอ้างอิงจากการศึกษา แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ที่สามารถนำมาสนับสนุนกับกรอบแนวคิดการวิจัย ทำให้ทราบถึงตัวแปรรวมถึงแหล่งอ้างอิงที่ชัดเจน และมีความน่าเชื่อถือ

ดังนั้น การสร้างแบบสอบถามของการวิจัย สิ่งสําคัญคือ การตั้งกรอบแนวคิดการวิจัย ที่มีความเชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์การวิจัย, ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ, คำถามการวิจัย, สมมุติฐานการวิจัย, และขอบเขตของการวิจัย ที่ได้ทำการศึกษาจากแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง มีแหล่งอ้างอิงที่มีน้ำหนักในการนำมาพัฒนาในการสร้างแบบสอบถามการวิจัยในหัวข้อนั้นๆ

ขอคําแนะนําจากอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย เพื่อทำการตรวจสอบแนวทางที่ถูกต้อง…

และสิ่งสําคัญอีกข้อคือ ขอคําแนะนําจาก อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย เพราะ อาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัยนั้น มีประสบการณ์มาอย่างยาวนาน ท่านทราบดีว่าการที่จะสร้างแบบสอบถามที่ดีได้นั้น จําเป็นที่จะต้องพัฒนาต่อยอดมาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

โดยเฉพาะ ของการศึกษาตัวแปรและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สอดคล้องกับหัวข้องานวิจัยที่เราทําการศึกษา

ซึ่ง ถ้าเรามีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ซัพพอร์ตกับตัวแปรที่เรากําหนดไว้ในกรอบแนวคิดการวิจัยแล้ว จะทําให้เราสามารถพัฒนาสร้างแบบสอบถามได้อย่างชัดเจนและตรงประเด็นมากขึ้น จะทําให้ง่ายต่อการที่จะทําให้การสร้างแบบสอบถามสําเร็จ และลุล่วงไปได้ไวกว่าการที่จะมาคลําทาง หรือไม่มีแนวทางที่ถูกต้อง และจะประหยัดระยะเวลาในการทําวิจัยได้เป็นอย่างมาก

ดังนั้น หากผู้วิจัยมือใหม่ที่ต้องทํางานวิจัย จึงจําเป็นที่จะต้องศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมากำหนดเป็นประเด็นของการกำหนดแนวคิดการวิจัย เพื่อสร้างแบบสอบถามการวิจัยที่ดีได้ครับ

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

โปรแกรม LISREL อีกหนึ่งทางเลือกที่นิยมใช้ในดุษฎีนิพนธ์

โปรแกรม LISREL นั้นถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของนักศึกษาปริญญาเอกที่กำลังเริ่มทำดุษฎีนิพนธ์ เนื่องจากโปรแกรม LISREL สามารถสร้างแบบจำลองได้หลายอย่าง เช่น

– สร้างแบบจำลองการวัด
– สร้างแบบจำลองสมการโครงสร้างขึ้นอยู่กับข้อมูลต่อเนื่องหรือลำดับ
– สร้างแบบจำลองหลายระดับสำหรับข้อมูลที่ต่อเนื่องและเป็นหมวดหมู่โดยใช้ฟังก์ชัน link functions
– สร้างโมเดลเชิงเส้นทั่วไปที่วางอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลการสำรวจที่ซับซ้อน

นอกจากนั้น โปรแกรม LISREL ยังสามารถวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพิ่มเติมได้หลายสถิติ ไม่ว่าจะเป็นสถิติ f, %, X-bar  and S.D.  เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น/พรรณนา

– สถิติ t-test, F-test  and  LSD. เพื่อวิเคราะห์/ทดสอบสมมติฐาน
– สถิติ Chi-Square  เพื่อวิเคราะห์ความแตกต่าง/ความสัมพันธ์
– สถิติ ANOVA,  MANOVA เพื่อวิเคราะห์/ทดสอบสมมติฐาน
– สถิติ ANCOVA, MANCOVA เพื่อวิเคราะห์/ทดสอบสมมติฐาน
– สถิติ Correlation  เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์/ตรวจสมมติฐาน
– สถิติ Simple-Multiple Regression  เพื่อวิเคราะห์/การพยากรณ์
– สถิติ FactorAnalysis  เพื่อวิเคราะห์ปัจจัย/ทดสอบสมมติฐาน
– สถิติ ClusterAnalysis เพื่อวิเคราะห์จัดกลุ่ม/ทดสอบสมมติฐาน
– สถิติ Discriminant Analysis วิเคราะห์จ าแนก/ทดสอบสมมติฐาน
– สถิติ PathAnalysis  เพื่อวิเคราะห์เส้นทาง/และทดสอบสมมติฐาน 
– สถิติ ModelLISREL เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ

จากข้อมูลข้างต้น คงพอเข้าใจเกี่ยวกับความสามารถของโปรแกรม LISREL กันบ้างแล้วใช่ใหมคะ ว่าสามารถทำอะไรได้บ้าง 

ดังนั้นหากเล่มดุษฎีนิพนธ์ เล่มใดจำเป็นจะต้องใช้ โปรแกรม LISREL วิเคราะห์สามารถติดต่อทีมงานได้ตามช่องทางที่ทิ้งไว้ ได้เลยค่ะ

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan

วิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่าง อย่างละเอียด ที่นี่มีคำตอบ!

จากบทความที่แล้วท่านคงจะเข้าใจว่า ประชากร คืออะไร กลุ่มตัวอย่าง คืออะไร กันแล้วใช่ไหมคะ ในบทความนี้จะมาอธิบายวิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่าง อย่างละเอียดให้ท่านเข้าใจกันค่ะ

การคำนวณสูตรกลุ่มตัวอย่างนั้น ส่วนใหญ่นิยมใช้ 2 วิธี คือ การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan และ การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane บทความนี้จะมาอธิบายวิธีการคำนวณ 2 วิธี นี้ให้ฟังอย่างละเอียดดังนี้

วิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่าง โดยการเปิดตารางของ Krejcie & Morgan

การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง โดยการเปิดตารางของ Krejcie & Morgan ครั้งนี้ ดิฉันจะออกโจทย์  3 ข้อ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย ๆ ดังนี้

โจทย์
1. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 146 คน
2. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 4,256 คน
3. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 5,000 คน

จากโจทย์ทั้ง 3 ข้อ เมื่อเปิดตารางของ Krejcie & Morgan จะได้คำตอบดังนี้

การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

คำตอบ
1. ประชากร 146 คน จะได้กลุ่มตัวอย่าง 103 คน
2. ประชากร 4,256 คน จะได้กลุ่มตัวอย่าง 351 คน
3. ประชากร 5,000 คน จะได้กลุ่มตัวอย่าง 357 คน

วิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane 

การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง ของ Taro Yamane  ครั้งนี้ ดิฉันจะออกโจทย์  3 ข้อเช่นกัน เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจง่าย ๆ ดังนี้

โจทย์
1. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 1,245,653 คน
2. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 2,356 คน
3. จงหากลุ่มตัวอย่าง จากประชากร 8,235 คน

จากโจทย์ทั้ง 3 ข้อ เมื่อคำนวณกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของ Taro Yamane จะได้คำตอบดังนี้

การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

คำตอบ
1. ประชากร 1,245,653 คน สามารถคำนวณตามสูตรได้ดังนี้

การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

2. ประชากร 2,356 คน สามารถคำนวณตามสูตรได้ดังนี้

การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

3. ประชากร 8,235 คน สามารถคำนวณตามสูตรได้ดังนี้

การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_

จากวิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่างการเปิดตารางของ Krejcie & Morgan และวิธีการคำนวณตามสูตรของ Taro Yamane คงจะพอคลายข้อสงสัยของผู้วิจัยหลายๆ ท่านได้ ดังนั้นท่านสามารถนำวิธีดังกล่าวไปใช้กับงานวิจัยของท่านได้ ตามวิธีที่ท่านถนัด

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

“ประชากร” กับ “กลุ่มตัวอย่าง” ต่างกันอย่างไร

ผู้วิจัยหลายท่านกำลังสงสัยว่า “ประชากร” กับ “กลุ่มตัวอย่าง” นั้นต่างกันอย่างไร

ในการทำวิจัย วิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์นั้น ผู้วิจัยจะต้องมีกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลจะนำพามาซึ่งคำตอบของเรื่องที่ผู้วิจัยกำลังศึกษาอยู่

ดังนั้น ในบทความนี้ เราจะมาอธิบายความต่างระหว่าง  “ประชากร” กับ “กลุ่มตัวอย่าง” ให้ฟังในแบบที่เข้าใจง่ายๆ

ประชากร

สำหรับประชากรในงานวิจัยจะหมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตทั้งหมดของเรื่องที่ศึกษา  อาจเป็นสัตว์ หรือคน ก็ได้ เช่น 

– ประชากรเสือในสวนสัตว์เขาเขียว
– ประชากรนักเรียนโรงเรียนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
– ประชากรที่เข้าใช้บริการห้างเซ็นทรัล เขตบางนา กรุงเทพมหานคร
– ประชากรพนักงานในบริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน)

ซึ่งในงานวิจัยสามารถแยก ประชากร ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ

1. ประชากรที่มีจำนวนจำกัด ประชากรกลุ่มนี้จะมีจำนวนที่แน่นอน เช่น 

– นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย หรือ 
– นักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต 

ซึ่งประชากรกลุ่มนี้จะมีจำนวนที่แน่นอนซึ่งผู้วิจัยสามารถสอบถามสถานที่ ที่จะศึกษาได้เลย หรืออาจมีข้อมูลเผยแพร่ในข้อมูลเว็บไซต์ของโรงเรียนหรือมหาลัยนั้นอยู่แล้ว

2. ประชากรที่ไม่จำกัดจำนวน ประชากรกลุ่มนี้เราจะไม่สามารถทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนได้เลยเนื่องจากมีตัวเลขประชากรที่ไม่คงที่ เช่น 

– ประชากรที่เข้าใช้บริการห้างเซ็นทรัล เขตบางนา กรุงเทพมหานคร (ห้างจะมีผู้ใช้บริการเข้าออกตลอดเวลาจนกว่าห้างจะปิด)
– ประชากรพนักงานในบริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน) (พนักงานบริษัทจะมีการย้ายเข้า-ย้ายออกทุกเดือน)

เมื่ออ่านบทความมาถึงจุดตรงนี้แล้ว ผู้วิจัยคงจะทราบแล้วว่าประชากรของท่านคือ กลุ่มใดต่อไปเรามาศึกษากลุ่มตัวอย่างกันค่ะ

กลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย คือ กลุ่มประชากรกลุ่มหนึ่งที่ผู้วิจัยสนใจจะศึกษา กลุ่มนั้นจริงๆ 

ยกตัวอย่างเช่น หากกลุ่มประชากรของท่านคือ ผู้ที่สนใจเข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยรังสิต ดังนั้นขนาดกลุ่มตัวอย่างของท่าน อาจจะศึกษา กลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าที่สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับการศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้จึงไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่ชัด (ซึ่งจะอยู่ในประเภทประชากรไม่จำกัดจำนวน) 

หรือ หากกลุ่มประชากรของท่านคือ ประชากรนักเรียนโรงเรียนอนุบาลนครสวรรค์ จำนวน 550 คน ที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2562 ดังนั้นขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการเปิดตารางของ Krejcie & Morgan แล้วจึงได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 226 คน ในการนำไปวิเคราะห์ผล

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า กลุ่มประชากรคือ กลุ่มสมาชิกทั้งหมดที่จะศึกษา เมื่อท่านทราบกลุ่มประชากรที่จะศึกษาแล้ว จึงจะสามารถนำกลุ่มประชากรกลุ่มนั้นมาวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบของการศึกษาทั้งหมดได้ ซึ่งกลุ่มประชากรกลุ่มนั้นเรียกว่า กลุ่มตัวอย่าง หากสงสัยวิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่างโปรดติดตามบทความต่อไป >>> วิธีการกลุ่มตัวอย่าง อย่างละเอียด ที่นี่มีคำตอบ!

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

วิธีติดตั้งโปรแกรม LISREL อย่างละเอียด

โปรแกรม LISREL เป็นโปรแกรมหนึ่งที่นิยมใช้ในดุษฎีนิพนธ์ เพื่อนำมาไว้ใช้สร้างแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) ในการหาเส้นทางของคำตอบที่ดีที่สุด หรือสถิติอื่นๆ ดังนั้นหากนักศึกษาปริญญาเอก ที่ต้องการติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้ศึกษาสามารถทำตามขั้นตอนที่ทีมงานสถิติแนะนำได้เลยค่ะ

1. เข้าไปในเว็บ http://www.ssicentral.com/ 

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

2. ไปที่แถบเมนู PRODUCTS แล้วเลือก  LISREL

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

3. คลิก Downloads ที่แถบเมนู LISREL MENU

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

4. มีฟรีลายเส้นให้เลือก 2 แบบ

– แบบ Fulloption จะใช้ฟรีได้เพียง 15 วัน สามารถคลิกไปที่  LISRELTrialLicense.xls ตัวอักษรสีฟ้า ดังรูป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

หลังจาก 15 วัน หากโหลด แบบ Fulloption ต้องเสียเงินในการซื้อลายเส้น 625$ (ประมาณ 20,xxx บาท) หากต้องการเช่า หรืออัปเดตเวอร์ชั่นมีราคาดังรูป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

– แบบ Student จะใช้ได้ฟรีตลอด เพื่อการศึกษาผู้วิจัยสามารถโหลดแบบนี้ได้เลยไม่เสียเงิน สามารถคลิกไปที่   LISREL10StudentSetup.exe ตัวอักษรสีฟ้า ดังรูป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

แต่ของฟรีก็ย่อมมีข้อจำกัดดังนี้

– สามารถการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติขั้นพื้นฐานและการจัดการข้อมูลถูก จำกัด ไว้ที่ตัวแปรสูงสุด 20 ตัว
– การสร้างแบบจำลองสมการโครงสร้างถูก จำกัด ไว้ที่ตัวแปรที่สังเกตได้สูงสุด 16 ตัว
-การสร้างแบบจำลองหลายระดับถูกจำกัด ไว้ที่ตัวแปรสูงสุด 15 ตัว
– การสร้างแบบจำลองเชิงเส้นทั่วไปถูกจำกัด ไว้ที่ตัวแปรสูงสุด 20 ตัว
– ตัวเลือกส่งออกข้อมูลบนเมนูไฟล์ถูกจำกัด ไว้ที่ ASCII ไฟล์ที่คั่นด้วยแท็บและคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค
– สามารถนำเข้าไฟล์ข้อมูล ASCII, tab-delimited และ comma-delimited ได้โดยใช้ตัวเลือก Import Data

5. ในบทความนี้เราจะแนะนำให้โหลดแบบ Student มาใช้

พอคลิกไปที่   LISREL10StudentSetup.exe ตัวอักษรสีฟ้า ตามขั้นตอนที่ 4 จะขึ้นหน้าต่างดังรูป ให้คลิกไฟล์เพื่อดาวน์โหลดได้เลย

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

6. รอให้ไฟล์โหลดเสร็จ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

7. ดับเบิ้ลคลิกไฟล์ LISREL ขึ้นมา

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

8. กดปุ่ม Next เรื่อยๆ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

9. กดปุ่ม Finish เป็นอันเสร็จสิ้น

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

เป็นอย่างไรกันบ้างคะโหลดโปรแกรม LISREL เสร็จแล้ว ในเวอร์ชั่น LISREL 10 ซึ่งเวอร์ชั่นนี้เป็นเวอร์ชั่นล่าสุดเลยค่ะ มีฟังก์ชั่นใหม่ให้ผู้วิจัยได้เรียนรู้อีกเพียบไว้จะมาอธิบายเพิ่มเติมให้นะคะ

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss

จะรู้ได้อย่างไรว่าเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยมีคุณภาพ

ในกระบวนการสร้างเครื่องมือ (แบบสอบถาม) ขึ้นมาเพื่อใช้ในงานวิจัยนั้น ทางบริษัทฯ เราทราบดีว่า ผู้วิจัยหลายท่านยังไม่เข้าใจในเรื่องการทดสอบได้ดีมากนัก เนื่องจากมีผู้ทำวิจัยหลายท่านเข้ามาสอบถามกระบวนการดังกล่าวกับบริษัทมากมาย 

บทความนี้สามารถจะอธิบายถึงกระบวนการทดสอบว่าเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยของท่านมีคุณภาพตามมาตรฐานกำหนดหรือไม่

ในการทดสอบคุณภาพของแบบสอบถามนั้น ผู้วิจัยจะต้องนำแบบสอบถามที่จะใช้ทดสอบไปหาความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) 

ซึ่ง การหาความเที่ยงตรง (Validity) ผู้วิจัยจะต้องนำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) ผ่านกระบวนการตรวจสอบจาก IOC (Item-Objective Congruence Index)  ของคำถามในแต่ละข้อว่าตรงตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาครั้งนี้หรือไม่ ตามภาพ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss

หลังจากนั้นก็นำแบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อดำเนินการในขั้นตอนต่อไป สำหรับการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ผู้วิจัยจะต้องหาความเชื่อมั่นโดยนำแบบสอบถามไปทดสอบกับกลุ่มประชากรที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา จำนวนประมาณ 30-40 คน แล้วนำมาทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 

โดยใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ  โดยค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามที่ทดสอบจะต้องได้มากกว่าหรือเท่ากับ 0.70 ถึงจะถือว่า แบบสอบถามนั้นนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้จริง หากไม่ถึงเกณฑ์จะต้องปรับข้อคำถามใหม่ หลังจากนั้นจึงนำไปให้กลุ่มตัวอย่างตอบคำถาม ตามภาพ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss

ขบวนการดังกล่าวจะอยู่ในบทที่ 3 ในหัวข้อการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมืองานวิจัยหากท่านทำกระบวนการนี้ไม่ผ่านสักที บริษัทเรามีเคล็บลับในการทำสิ่งนี้ให้ผ่านภายในเวลาอันรวดเร็ว โดยที่ท่านสามารถรอได้เลย สามารถติดต่อบริษัทได้ทางช่องทางที่ให้ไว้

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

เหตุผลอะไร ที่คนส่วนใหญ่จึงไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS เป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยความเข้าใจในสถิติพื้นฐาน โดยผู้ที่ใช้โปรแกรม SPSS เป็น ต้องรู้จักและเข้าใจการวิเคราะห์สถิติเบื้องต้นเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย 

ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด เพราะว่าค่าสถิติพื้นฐานจะเป็นการวิเคราะห์เริ่มต้น ที่นำไปสู่การทดสอบสมมติฐาน ตามที่วัตถุประสงค์การวิจัยได้ตั้งไว้

แต่สถิติ ไม่ใช่เรื่องที่ทุกคนจะเข้าใจ ซึ่งแน่นอนที่คุณจะต้องเจอกับตัวเลข เป็นจำนวนมาก หากบางคนไม่มีพื้นฐานทางด้านสถิติ จะทำให้เกิดการเบื่อหน่าย ปวดหัว และมึนงง เนื่องจากตัวเลขดังกล่าวไม่สามารถดูแล้วเข้าใจได้โดยทันที  ดังที่มาร์ยัม เมอร์ซาคานี กล่าวไว้ว่า คณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่องสำหรับทุกคน

ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่คนส่วนใหญ่ไม่อยากจะเสียเวลาเข้าใจโปรแกรม SPSS  บทความนี้จึงจะนำพาคุณมาวิเคราะห์ถึง 3 เหตุผลที่คนส่วนใหญ่ไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง เพื่อประมวลผลการวิจัยเองดังนี้

1. ไม่อยากทำความเข้าใจเกี่ยวเรื่องสถิติ

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS สำหรับงานวิจัย สามารถแยกย่อยออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 

ประเภทที่ 1 สถิติเชิงพรรณา คือ ค่าสถิติพื้นฐานที่ใช้กับข้อมูลง่ายๆ มีวิธีการที่ไม่ยุ่งยาก ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม เป็นต้น

ประเภทที่ 2 สถิติเชิงอนุมาน คือ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน โดยต้องใช้พื้นฐานของสถิติเชิงพรรณามาช่วยในการค้นหาคำตอบข้อเท็จจริงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One Way ANOVA) การวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi-Square) การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Regression)

แค่ทั้ง 2 ประเภทใหญ่ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ก็ยากต่อการเข้าใจแล้ว แต่ที่ยากไปกว่านั้นคือการเลือกใช้สถิติแต่ละตัว ซึ่งผู้วิจัยต้องดูประเภทข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัวด้วยว่า ตัวแปรไหนสามารถนำมาทดสอบสมมติฐานได้บ้าง ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. เลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์ไม่ตรงกับประเภทข้อมูล

คงเป็นเรื่องยาก ที่คุณต้องมานั่งศึกษาใหม่ว่าข้อมูลประเภทไหน สามารถนำไปทดสอบประเภทไหนได้บ้าง ถ้าเปรียบก็คงเหมือนการไปเริ่มเรียน ก-ฮ ใหม่ เพราะว่านอกจากภาระหน้าที่การงานที่ต้องรับผิดชอบแล้ว เรื่องที่ทำให้ปวดหัวอีกเรื่องหนึ่งก็คือ การวิเคราะห์สถิติ 

เพราะ การวิเคราะห์สถิติ นั้นในข้อมูลแต่ละประเภทจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างกันออกไป หากเลือกประเภทข้อมูลในการนำมาวิเคราะห์สถิติผิด โปรแกรมก็จะไม่แสดงผล หรือแสดงผล Error ออกมา ทำให้ผู้วิจัยไม่รู้จะสอบถามใคร ไปต่อไม่ได้

หากผู้วิจัยคนไหนต้องการจะวิเคราะห์ SPSS แปลผลข้อมูลเอง อันดับแรกควรจะทำการศึกษาประเภทของข้อมูลก่อนว่า ข้อมูลแต่ละประเภทเป็นอย่างไร และข้อมูลประเภทไหนใช้กับสถิติอะไรได้บ้าง 

3. ไม่เข้าใจการทดสอบสมมติฐาน

จากการที่ไม่เข้าใจการเลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์กับประเภทข้อมูลแต่ละประเภท ทำให้ผลโปรแกรมวิเคราะห์ SPSS ออกมา  Error คนส่วนใหญ่จึงไม่รู้จะทำอะไรต่อ และไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร ส่งผลให้ทดสอบสมมติฐานไม่ได้ด้วยเช่นกัน 

ยกตัวอย่าง สถานการณ์ที่เจอปัญหา ดังเช่น ข้อคำตอบไหนที่มีกลุ่มตัวอย่างตอบเพียงคนเดียว ผลการทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA จะออกมา Error ดูจากรูปจะพบว่า มีกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 50 ปีขั้นไป เพียงแค่ 1 ท่าน ที่มีการตัดสินใจเล่นกีฬา เมื่อนำมาวิเคราะห์ One Way ANOVA ผลตารางของ Post hoc จะไม่ออก 

ดังนั้นถ้าผลออกมาว่าอายุเป็นตัวแปรที่ส่งผลทำให้กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจเล่นกีฬา จะไม่สามารถตอบได้ว่ากลุ่มอายุไหนบ้างที่ตัดสินใจเล่นกีฬา แล้วกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุไหนเล่นกีฬาอะไรบ้าง 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

จาก 3 เหตุผลดังกล่าวก็ทำให้หลายท่านตอบคำถามตัวเองได้แล้วว่า เราควรเสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง หรือไม่ หากเจอปัญหา ผลโปรแกรม Error จะแก้ไขปัญหาเองได้หรือไม่ เมื่อได้คำตอบนั้นแล้วลองปรึกษาบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านสถิติ เพื่อขอคำแนะนำและทำให้การทำงานวิจัยของคุณให้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)