คลังเก็บป้ายกำกับ: การทำวิทยานิพนธ์

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

ข้อผิดพลาดแบบเดิม ๆ ของผู้วิจัยมือใหม่ 99% ที่ยังแก้ปัญหาการทำวิจัยไม่ได้เสียที

ผู้วิจัยมือใหม่หลายท่านนั้นอยากจะทราบว่ามีเทคนิควิธีการอย่างไร เพื่อที่จะแก้ไขข้อผิดพลาดในการทำวิจัยให้สำเร็จลุล่วงไปได้ และให้ได้ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและออกมาตรงกับที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยต้องการ

และในบทความนี้ ทางเรามีคำแนะนำที่จะช่วยพัฒนาการทำวิจัยของท่านให้ได้ผลงานที่มีคุณภาพดีตรงกับที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยต้องการได้ ด้วยแนวทางการแก้ปัญหาที่ผู้วิจัยมือใหม่มักจะทำผิดพลาดกันบ่อยครั้ง

ชอบคัดลอกงานวิจัยเรื่องอื่นมาทำ

บ่อยครั้งที่ผู้วิจัยมือใหม่มักจะหางานวิจัยที่ใกล้เคียงกับหัวข้อที่ตนเองตั้งไว้ แล้วนำงานวิจัยนั้นมาคัดลอกเนื้อหาเป็นงานวิจัยของตนเอง สิ่งนี้คือข้อผิดพลาดที่ผู้วิจัยมือใหม่ส่วนใหญ่ 99% มักจะทำ แต่ไม่มีงานวิจัยเรื่องใดที่จะสามารถผ่านการตรวจสอบการคัดลอกเนื้อหางานวิจัยจากโปรแกรมที่ปัจจุบันมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งนั้นใช้ได้ 

www.unsplash.com

เนื่องจากฐานข้อมูลของโปรแกรมตรวจสอบการคัดลอกเนื้อหางานวิจัยในปัจจุบันมีการใช้ระบบอัลกอริทึมของ AI มาใช้ในการตรวจสอบเนื้อหางานวิจัยที่มีการเผยแพร่และส่งตีพิมพ์ในแต่ละปี ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ หรือ Turnitin ที่มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ในประเทศไทยนั้นนิยมเลือกใช้ในการตรวจสอบการคัดลอกเนื้อหางานวิจัย 

“หากท่านยังมีความคิดที่จะลอกงานวิจัยเล่มอื่นมาเป็นของตนเองนั้น โอกาสที่ท่านจะล้มเหลวก็มีถึง 99% แล้ว”

ชอบรอเวลาใกล้ส่งแล้วค่อยทำ

ผู้วิจัยมือใหม่ส่วนใหญ่แล้วจะมีภาระงานที่ต้องทำไปพร้อมกับการทำวิจัย เช่น ท่านทำธุรกิจส่วนตัวแล้วมาเรียนต่อในระดับปริญญาโท ส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่มีเวลาในการทำงานวิจัย ซึ่งส่งผลให้เมื่อถึงกำหนดส่งงานของมหาวิทยาลัยแต่งานวิจัยยังไม่สำเร็จ หรือเพิ่งเริ่มทำงานวิจัยเมื่อใกล้จะส่งในอีก 7 วันข้างหน้า 

www.unsplash.com

ในการทำงานวิจัยแต่ละบทนั้นจะต้องมีการวางแผนการทำงาน เพราะงานวิจัยนั้นไม่สามารถที่จะทำสำเร็จได้ในระยะเวลาเพียงสั้นๆ เนื่องจากท่านต้องสังเคราะห์จากงานวิจัยที่ท่านไปสืบค้นมาจากทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ แล้วนำมาเขียนบูรณาการตามความรู้ ความเข้าใจของท่าน และหากท่านไม่สามารถเขียนออกมาตามความรู้ ความเข้าใจของท่านได้ ก็จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถส่งงานวิจัยตามกำหนดระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยให้ไว้ได้

ดังนั้นหากท่านขาดการวางแผนการทำงานวิจัยอย่างดีเพียงพอแล้ว จะทำให้ท่านประสบปัญหาการส่งงานล่าช้า ซึ่งอาจจะทำให้ท่านหมดสิทธิ์ที่จะเป็นผู้สอบในแต่ละครั้ง หรือหมดสิทธิ์ที่จะขึ้นสอบตามที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนดไว้ได้

“หากขาดการวางแผนในการทำวิจัยที่ดี จะส่งผลให้การทำงานล่าช้า หรืออาจหมดสิทธิ์ในการสอบตามที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนดไว้ได้”

ชอบที่จะให้อาจารย์แนะนำฝ่ายเดียว

ผู้วิจัยมือใหม่ส่วนใหญ่แล้วจะคล้อยตามคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา เนื่องจากอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้ใหญ่ที่มีอำนาจในการเซ็นอนุมัติ ตลอดจนวัฒนธรรมไทยเป็นวัฒนธรรมที่ปลูกฝังค่านิยมให้มีการอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ แต่ความเป็นจริงแล้วในแวดวงวิชาการนั้น นับกันที่คุณวุฒิไม่ใช่วัยวุฒิ ผู้วิจัยมือใหม่แต่ละท่านจึงควรมีความคิดเห็นเป็นของตนเอง เพื่อที่จะเสนอแนะในทิศทางหรือความสนใจทางวิชาการที่ตนเองมีความรู้ ความเข้าใจอย่างดีเพียงพอ

www.unsplash.com

โดยเฉพาะการมีไอเดียที่สร้างสรรค์และแปลกใหม่ ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ทำให้ท่านสามารถต่อยอดความรู้หลังจากที่ท่านทำวิจัยจบไปแล้วได้ เนื่องจากจุดประสงค์ที่แท้จริงของการทำวิจัย คือ การพัฒนาความคิดให้ท่านสามารถใช้งานวิจัยในการแก้ไขปัญหาที่จะเจอต่อไปในอนาคตได้ โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาในการดำเนินชีวิตหรือปัญหาในการทำธุรกิจ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วสามารถใช้กระบวนการทำวิจัยเพื่อมาแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้

หากท่านไม่มีความคิดที่จะยืนหยัดหรือมีไอเดียที่จะแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง แต่เชื่อคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาเพียงฝ่ายเดียว ก็จะส่งผลให้งานวิจัยของท่านนั้นเป็นงานวิจัยที่เป็นความเชี่ยวชาญของอาจารย์ที่ปรึกษา ไม่ใช่ความเชี่ยวชาญของท่านเอง ท่านจึงจำเป็นที่จะต้องมีไอเดียเป็นของตนเอง และเพียงแค่ขอคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อที่จะมาพัฒนางานวิจัยของท่าน จึงจะสามารถกล่าวได้ว่างานวิจัยชิ้นนี้คืองานวิจัยที่เป็นของท่านอย่างเต็ม 100%

“ยืนหยัดในความคิดของตนเอง รับฟังคำแนะนำจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยเพื่อที่นำมาพัฒนางานวิจัยของตยเองให้ดียิ่งขึ้น”

สำหรับข้อพิดพลาดทั้งหมดที่ทางเราได้แนะนำไปข้างต้น เป็นสิ่งที่ผู้วิจัยมือใหม่ 99% มักจะทำผิดพลาด หากท่านสามารถที่จะป้องกันการทำผิดพลาดต่างๆ เหล่านี้ได้ ก็จะทำให้งานวิจัยของท่านนั้นสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638
คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE:
@impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

5 ข้อสังเกตงานวิจัยที่หลายๆ คนแยกไม่ออก

บทความนี้ขอย่อยปัญหาหลักในการทำงานวิจัยไทย กับข้อสังเกตวิจัย 5 ข้อ คือ

1. การทำวิจัยปริญญาโทและปริญญาเอกนั้น ต่างกันอย่างไร

ในข้อสังเกตวิจัยแรกนี้ส่วนใหญ่ผู้วิจัยหลายๆ ท่านจะแยกไม่ค่อยได้ว่า การทำงานวิจัยปริญญาโทและปริญญาเอกนั้น ต่างกันอย่างไร เราจะขออธิบายสั้นๆ ง่ายๆ ว่า

– ปริญญาเอกจะเน้นการทำวิจัย (Research) ในระดับที่ก้าวหน้าและสูงขึ้น โดยอาจจะมีหรือไม่มีการเรียนการสอนรายวิชาก็ได้

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ  IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

ฉะนั้นในการเรียนในระดับปริญญาเอก การฝึกฝนทักษะการทำวิจัยเป็นสำคัญ เพราะผู้เรียนจำเป็นต้องค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ๆ ได้ด้วยตนเอง 

โดยศึกษาค้นคว้าวิจัยในหัวข้อนั้นๆ ลงไปให้ลึกถึงแก่นของความรู้ และในที่สุดสามารถสร้างองค์ความรู้ในแบบฉบับของตัวเองและขยายองค์ความรู้นั้นให้เป็นประโยชน์ในวงกว้างได้

– ปริญญาโทจะเน้นการเรียนการสอนรายวิชา (Course work) ในระดับที่ก้าวหน้าและสูงขึ้น โดยอาจจะมีหรือไม่มีการทำวิจัยก็ได้

ซึ่งการเรียนในระดับปริญญาโท จะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนศึกษาความรู้ที่เฉพาะเจาะจงและลึกซึ้งกว่าระดับอื่นๆ อีกทั้งจะต้องสามารถประยุกต์ความรู้ทางทฤษฎีไปใช้ในบริบทต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม แต่ไม่ถึงกับต้องสร้างองค์ความรู้ใหม่ ลึกซึ้งถึงแก่นเท่ากับปริญญาเอก 

หากเชิงเปรียบเทียบในแง่ขององค์ความรู้มากกว่าการเรียนในระดับปริญญาเอกที่ใช้เวลาโดยส่วนใหญ่มุ่งศึกษาหัวข้อวิจัยเพียงเรื่องเดียวอย่างลึกซึ้ง

เพราะการทำงานวิจัยในระดับปริญญาโทจะตอบโจทย์กับงานที่ต้องศึกษาความรู้แบบกว้างๆ และหลากหลาย และก็เพียงพอในการนำไปปรับใช้กับชีวิตและงานต่างๆ ได้ ซึ่งจำเป็นต้องไปสั่งสมประสบการณ์และความชำนาญต่างๆ ในสายอาชีพนั้นๆ เพิ่มเติมอยู่ดี

2. การทำวิทยานิพนธ์ (Thesis) ระดับปริญญาโท แบบ ก1 และ แบบ ก2 ต่างกันอย่างไร

ในการทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทนั้นจะแบ่งออกเป็น 2 แผน ซึ่งในข้อสังเกตวิจัยนี้ ทางเราจะอธิบายความต่างของ แผน ก ซึ่งจะเน้นการทําวิจัยโดยให้มีการทําวิทยานิพนธ์ และแยกย่อยออกเป็น แบบ ก1 และ แบบ ก2 คือ 

– แบบ ก1 จะเป็นการทําวิทยานิพนธ์อย่างเดียว โดยจะต้องมีหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต หรืออาจมีการเรียนรายวิชาก็ได้แต่ไม่นับหน่วยกิต และอาจจะไม่ต้องเรียนรายวิชาบรรยาย หรือเรียนแค่บางวิชาแบบไม่คิดหน่วยกิตไม่มีเกรด ซึ่งเหมาะกับผู้เรียนที่มีประสบการณ์​วิจัยหรือมีความรู้​ในสาขาวิชาด้าน​นั้นอย่างชัดแล้ว

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ  IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

แต่กลับมีข้อเสียตรงที่ไม่มีเกรดรองรับ อาจจะทำให้ยุ่งยากนิดๆ เมื่อนำไปสมัครในตำแหน่งงานที่กำหนดเกรด 

– แบบ ก2 ในแผนการเรียนจะประกอบด้วยรายวิชาไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และในการทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต โดยการทำวิทยา​นิพนธ์จะเริ่มทำ​หลังจากเรียนรายวิชาไปแล้วประมาณ 2 เทอม

3. งานดุษฎีนิพนธ์ แบบ 1 แบบ 2 ต่างกันอย่างไร

ในข้อสังเกตวิจัยข้อที่ 3 นี้ ก็จะคล้ายๆ กับ ข้อที่ 2 แต่จะเป็นในระดับปริญญาเอก

– แบบ 1 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย โดยมีการทำวิทยานิพนธ์ อาจจะกำหนดให้เรียนรายวิชาเพิ่มเติมหรือ ทำกิจกรรมทางวิชาการอื่นๆ เพิ่มขึ้น โดยไม่นับหน่วยกิต ซึ่งจะแยกย่อยเป็น 2 ส่วน คือ 

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ  IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

แบบ 1.1 ผู้เรียนที่สำเร็จปริญญาโท จะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต
แบบ 1.2 ผู้เรียนที่สำเร็จปริญญาตรี จะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 72 หน่วยกิต

– แบบ 2 เป็นแผนการศึกษาที่เน้นการวิจัย และศึกษารายวิชาเพิ่มเติม แยกย่อยเป็น 2 ส่วน คือ 

แบบ 2.1ผู้เรียนที่สำเร็จปริญญาโทจะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต และศึกษารายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
แบบ 2.2 ผู้ผู้เรียนที่สำเร็จปริญญาตรีจะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต และศึกษารายวิชาอีกไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต

4. บทความวิชาการ และ บทความวิจัย ต่างกันอย่างไร

ในความต่างของบทความวิชาการ และ บทความวิจัย มีลักษณะความต่างดังนี้

– บทความวิชาการ

จะนำเสนอความรู้พื้นฐานทางวิชาการของสาขานั้นๆ ที่เชื่อถือได้ และมีหลักฐานอ้างอิงทางวิชาการที่ใช้ประกอบการเขียนอย่างถูกต้องเหมาะสมตามหลักวิชาการ โดยเขียนในลักษณะวิเคราะห์ วิจารณ์ ให้ผู้อ่านเห็นถึงประเด็นหรือสาระสำคัญที่ต้องการสื่อให้ผู้อ่านรับรู้ 

ซึ่งอาจจะเป็นการเขียนจากประสบการณ์ความเชี่ยวชาญส่วนตัวของผู้เขียน หรือนำผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการวิเคราะห์ วิจารณ์ เรียบเรียงจัดลำดับการนำเสนอเนื้อหาสาระอย่างเหมาะสมชัดเจน

และสรุปอภิปรายชี้แนะ เพื่อกระตุ้นให้ผู้อ่านนำไปใช้ประโยชน์ หรือเหาความรู้ในประเด็นนั้นๆ เพิ่มเติมต่อไป  

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ  IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

– บทความวิจัย 

บทความวิจัยคล้ายจะมีลักษณะคล้ายกับงานวิจัย หรืองานวิทยานิพนธ์ในระดับบัณฑิตศึกษา แต่มีความต่างกันในรายละเอียดของความยาว ส่วนขยาย และส่วนประกอบบางส่วนที่ไม่จำเป็นต้องเขียนลงในบทความวิจัย

เช่น กรอบความคิดเชิงทฤษฎี ตัวแปรต่างๆ ขอบเขต และข้อจำกัดของการวิจัย รวมทั้งตารางการวิเคราะห์ข้อมูล

โดยการเขียนบทความวิจัยจะมีลักษณะกระชับตรงประเด็น ครอบคลุมส่วนที่เป็นปัญหา วิธีการดำเนินงาน ผลการวิจัย การอภิปรายและข้อเสนอแนะเป็นต้น ซึ่งโดยทั่วไปบทความวิจัยจะมีความยาวประมาณ 10-15 หน้ากระดาษ A4 

5. จริงๆ รายงานวิจัยนั้นมี 6 บทขึ้นไป 

ในการทำงานวิจัยส่วนใหญ่จะทำรายงานการวิจัยที่พูดจนติดปากว่า “การทำวิจัย 5 บท” หรือ “สอบ 5 บท” ซึ่งหากสังเกตให้ดีในการทำงานวิจัยนั้นไม่มีข้อจำกัดที่ตายตัว สามารถพลิกแพลงไปตามกระบวนการวิจัย ที่จะต้องประกอบด้วยอย่างน้อย 6 ส่วน คือ 

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ  IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

1. บทนำ
2. ทบทวนวรรณกรรม
3. วิธีดำเนินการวิจัย
4. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
5. ผลการวิจัย
6. สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 

ดังนั้นรายงานการวิจัยจะมีกี่บทก็ได้แต่ไม่ควรต่ำกว่า 6 บท และไม่ควรคิดว่า ผลการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ผลการวิจัย ที่จะต้องรวมบทที่ 4 และ 5 เข้าด้วยกัน

นี่เป็นข้อสังเกต 5 ข้อ ที่หลายๆ คนมองข้าม และในบางครั้งยังไม่สามารถแยกแยะออก จนกว่าจะเกิดปัญหากับตัวเองถึงจะตระหนักรู้ในข้อสังเกตนี้

หากท่านมีข้อสงสัย หรือกำลังมองหาที่ปรึกษาในการทำงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ หรืองานดุษฎีนิพนธ์สามารถติดต่อเราได้ตามช่องทางด้านล่างนี้

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)