คลังเก็บป้ายกำกับ: โปรแกรม SPSS

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

เหตุผลอะไร ที่คนส่วนใหญ่จึงไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS เป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยความเข้าใจในสถิติพื้นฐาน โดยผู้ที่ใช้โปรแกรม SPSS เป็น ต้องรู้จักและเข้าใจการวิเคราะห์สถิติเบื้องต้นเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย 

ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด เพราะว่าค่าสถิติพื้นฐานจะเป็นการวิเคราะห์เริ่มต้น ที่นำไปสู่การทดสอบสมมติฐาน ตามที่วัตถุประสงค์การวิจัยได้ตั้งไว้

แต่สถิติ ไม่ใช่เรื่องที่ทุกคนจะเข้าใจ ซึ่งแน่นอนที่คุณจะต้องเจอกับตัวเลข เป็นจำนวนมาก หากบางคนไม่มีพื้นฐานทางด้านสถิติ จะทำให้เกิดการเบื่อหน่าย ปวดหัว และมึนงง เนื่องจากตัวเลขดังกล่าวไม่สามารถดูแล้วเข้าใจได้โดยทันที  ดังที่มาร์ยัม เมอร์ซาคานี กล่าวไว้ว่า คณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่องสำหรับทุกคน

ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่คนส่วนใหญ่ไม่อยากจะเสียเวลาเข้าใจโปรแกรม SPSS  บทความนี้จึงจะนำพาคุณมาวิเคราะห์ถึง 3 เหตุผลที่คนส่วนใหญ่ไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง เพื่อประมวลผลการวิจัยเองดังนี้

1. ไม่อยากทำความเข้าใจเกี่ยวเรื่องสถิติ

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS สำหรับงานวิจัย สามารถแยกย่อยออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 

ประเภทที่ 1 สถิติเชิงพรรณา คือ ค่าสถิติพื้นฐานที่ใช้กับข้อมูลง่ายๆ มีวิธีการที่ไม่ยุ่งยาก ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม เป็นต้น

ประเภทที่ 2 สถิติเชิงอนุมาน คือ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน โดยต้องใช้พื้นฐานของสถิติเชิงพรรณามาช่วยในการค้นหาคำตอบข้อเท็จจริงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One Way ANOVA) การวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi-Square) การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Regression)

แค่ทั้ง 2 ประเภทใหญ่ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ก็ยากต่อการเข้าใจแล้ว แต่ที่ยากไปกว่านั้นคือการเลือกใช้สถิติแต่ละตัว ซึ่งผู้วิจัยต้องดูประเภทข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัวด้วยว่า ตัวแปรไหนสามารถนำมาทดสอบสมมติฐานได้บ้าง ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. เลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์ไม่ตรงกับประเภทข้อมูล

คงเป็นเรื่องยาก ที่คุณต้องมานั่งศึกษาใหม่ว่าข้อมูลประเภทไหน สามารถนำไปทดสอบประเภทไหนได้บ้าง ถ้าเปรียบก็คงเหมือนการไปเริ่มเรียน ก-ฮ ใหม่ เพราะว่านอกจากภาระหน้าที่การงานที่ต้องรับผิดชอบแล้ว เรื่องที่ทำให้ปวดหัวอีกเรื่องหนึ่งก็คือ การวิเคราะห์สถิติ 

เพราะ การวิเคราะห์สถิติ นั้นในข้อมูลแต่ละประเภทจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างกันออกไป หากเลือกประเภทข้อมูลในการนำมาวิเคราะห์สถิติผิด โปรแกรมก็จะไม่แสดงผล หรือแสดงผล Error ออกมา ทำให้ผู้วิจัยไม่รู้จะสอบถามใคร ไปต่อไม่ได้

หากผู้วิจัยคนไหนต้องการจะวิเคราะห์ SPSS แปลผลข้อมูลเอง อันดับแรกควรจะทำการศึกษาประเภทของข้อมูลก่อนว่า ข้อมูลแต่ละประเภทเป็นอย่างไร และข้อมูลประเภทไหนใช้กับสถิติอะไรได้บ้าง 

3. ไม่เข้าใจการทดสอบสมมติฐาน

จากการที่ไม่เข้าใจการเลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์กับประเภทข้อมูลแต่ละประเภท ทำให้ผลโปรแกรมวิเคราะห์ SPSS ออกมา  Error คนส่วนใหญ่จึงไม่รู้จะทำอะไรต่อ และไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร ส่งผลให้ทดสอบสมมติฐานไม่ได้ด้วยเช่นกัน 

ยกตัวอย่าง สถานการณ์ที่เจอปัญหา ดังเช่น ข้อคำตอบไหนที่มีกลุ่มตัวอย่างตอบเพียงคนเดียว ผลการทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA จะออกมา Error ดูจากรูปจะพบว่า มีกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 50 ปีขั้นไป เพียงแค่ 1 ท่าน ที่มีการตัดสินใจเล่นกีฬา เมื่อนำมาวิเคราะห์ One Way ANOVA ผลตารางของ Post hoc จะไม่ออก 

ดังนั้นถ้าผลออกมาว่าอายุเป็นตัวแปรที่ส่งผลทำให้กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจเล่นกีฬา จะไม่สามารถตอบได้ว่ากลุ่มอายุไหนบ้างที่ตัดสินใจเล่นกีฬา แล้วกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุไหนเล่นกีฬาอะไรบ้าง 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

จาก 3 เหตุผลดังกล่าวก็ทำให้หลายท่านตอบคำถามตัวเองได้แล้วว่า เราควรเสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง หรือไม่ หากเจอปัญหา ผลโปรแกรม Error จะแก้ไขปัญหาเองได้หรือไม่ เมื่อได้คำตอบนั้นแล้วลองปรึกษาบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านสถิติ เพื่อขอคำแนะนำและทำให้การทำงานวิจัยของคุณให้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย ไม่ยากอย่างที่คิด!

แบบสอบถามงานวิจัย เป็นเครื่องมือการวิจัยอย่างหนึ่ง ที่ประกอบไปด้วยชุดคำถาม ที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความรู้สึก ความเชื่อ และความสนใจต่างๆ ที่เตรียมไว้สำหรับให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้เลือกตอบหรือเติมคำ เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย 

ซึ่งการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยนั้น ข้อคำถามจะถูกสร้างขึ้นจากกรอบแนวความคิดทฤษฎีของตัวแปรที่ต้องการศึกษา หรือต้องการวัด ซึ่งข้อคำถามที่ใช้ถาม ต้องมีเหมาะสมกับประเด็นที่จะวัด โดยจะมีหลักการในการสร้างเพื่อตามขั้นตอนดังนี้

1. พิจารณาหัวข้อปัญหาและวัตถุประสงค์

ในปัจจุบันพบว่า มีหลายงานวิจัยที่ไม่สามารถเลือกใช้แบบสอบถามได้อย่างเหมาะสมกับงานวิจัยของตนเองได้ เนื่องจากตั้งคำถามไม่ตรงกับลักษณะ หรือพฤติกรรม ของผู้ตอบแบบสอบถามจึงทำให้ ผลการวิจัยที่ออกมาไม่ตอบกับวัตถุประสงค์การวิจัยที่ตั้งไว้ ดังนั้นการทราบปัญหาการวิจัย และการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่ชัดเจน ถือเป็นเข็มทิศในการเดินทาง ที่จะทำให้ทราบจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยเลยทีเดียว 

ก่อนอื่นคุณต้องทราบปัญหาของงานวิจัยก่อน ว่างานวิจัยที่ทำอยู่นั้นมีปัญหาอะไร? 

ตัวอย่างเช่น บริษัทหนึ่งพนักงานไม่มีแรงจูงใจในการทำงาน พนักงานจึงมีการขาด ลา และมาสาย อยู่เป็นประจำ ทำให้งานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จากปัญหาดังกล่าวอาจเป็นเพราะปัจจัยต่างๆ เช่น พนักงานรู้สึกว่าตนเองได้รับค่าจ้างที่ไม่คุ้มค่ากับงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อนร่วมงานไม่ดี หรือไม่มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทแห่งนี้ 

จึงตั้งวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาสาเหตุการขาด ลา และมาสายของพนักงาน และศึกษาปัจจัยที่เป็นแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทดังกล่าว 

ดังนั้นสิ่งที่ผู้วิจัยจะต้องศึกษาเพื่อที่จะสร้างแบบสอบถามงานวิจัย โดยจะต้องศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการทำงาน ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวสามารถนำทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Clayton Alderfer ที่ได้พัฒนามาจากทฤษฎีความต้องการ Maslow มาปรับใช้ได้ ซึ่งจะกล่าวถึงวิธีพิจารณารูปแบบการตั้งคำถามในขั้นตอนต่อไป

2. พิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้

ในการพิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้ คุณสามารถหยิบยกข้อคำถามจากการศึกษาแนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ได้ เช่น ทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Alderfer สรุปว่า ความต้องการของมนุษย์สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่

E ตัวแรกคือ ความต้องการเพื่อการดำรงชีวิต (Existence needs = E) เป็นความต้องการจาก ค่าจ้างเงินโบนัส และผลประโยชน์ตอบแทน ตลอดจนสภาพการทำงานที่ดี ดังนั้นข้อคำถามที่ควรตั้ง อาจจะเป็นการสอบถาม ความพอใจที่ได้รับค่าจ้างหรือโบนัสสิ้นปี หรือสภาพการทำงานที่ได้รับว่าเหมาะกับค่าจ้างหรือไม่ เป็นต้น

R ตัวที่สองคือ ความต้องการทางด้านความสัมพันธ์ (Relatedness needs = R) เป็นความต้องการทางสังคมที่ต้องการการยอมรับจากหัวหน้า เพื่อนร่วมงาน ซึ่งข้อคำถามที่ควรตั้งเช่น ท่านสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมได้เป็นอย่างดีหรือไม่ หรือท่านได้รับการยกย่องจากหัวหน้าเมื่อทำงานได้สำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นต้น

G ตัวที่สามคือความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth needs = G) เป็นความต้องการเติบโตจากหน้าที่การงาน ข้อคำถามที่ควรตั้ง เช่น ท่านได้รับพิจารณาการเลื่อนตำแหน่งอยู่เสมอ เป็นต้น

ซึ่งทฤษฎีดังกล่าว ผู้วิจัยสามารถนำทฤษฎีมาปรับใช้เป็นแนวทางในการตั้งข้อคำถาม เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขปัญหาวิจัยได้ ซึ่งข้อคำถามที่ตั้งนั้น ควรสอบถามเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงระดับความคิดเห็น หรือเรียกว่าข้อคำถามแบบมาตรวัด scale ซึ่ง

5 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมากที่สุด 
4 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมาก
3 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นปานกลาง
2 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อย
1 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อยที่สุด 

3. ร่างแบบสอบถาม

เมื่อได้ข้อคำถามที่สอบถามแล้ว ผู้วิจัยต้องทำการรวบรวมคำถามโดยแบ่ง เป็นด้านตามแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ศึกษา ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยอาจจะร่างข้อคำถามในกระดาษ หรือสร้างข้อคำถามในโปรแกรม Word เลยก็ได้เช่นกัน

4. ตรวจสอบแบบสอบถาม

เมื่อร่างข้อคำถามเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยควรตรวจทานข้อคำถามก่อนว่าอ่านรู้เรื่องหรือไม่ มีคำผิดหรือไม่ แล้วข้อคำถามสอดคล้องกับสถานการณ์จริงหรือไม่ หากตรวจทานดูแล้วควรส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความคล้องอย่างน้อย 3 ท่าน เพื่อนำข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงข้อคำถามต่อไป 

ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า วิธีการทำ IOC ในการทดสอบนี้หากคะแนนของผู้เชี่ยวชาญที่ให้คะแนนแต่ละข้อคำถามรวมกัน หารจำนวนผู้เชี่ยวชาญ แล้วได้ค่าคะแนนแต่ละข้อมากกว่า 0.5 จึงถือว่าผ่าน สามารถนำไปทดสอบแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาได้

5. ทำการทดลองแบบสอบถาม (Try-out)

เมื่อตรวจสอบแบบสอบถามเสร็จแล้ว การทำการทดลองแบบสอบถามถือเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัย จะต้องทำอีกกระบวนการหนึ่ง เพื่อให้ทราบถึงความชัดเจนในทุกๆ ด้านของข้อคำถาม หากข้อคำถามมีความชัดเจน ผู้ตอบแบบสอบถามที่อ่านจะเข้าใจตรงกัน เนื่องจากแบบสอบถามมีการใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย รัดกุม ไม่มีความบกพร่องทางภาษา ทำให้การตรวจให้คะแนนมีเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน 

ซึ่งวิธีการดังกล่าวเรียกว่า วิธีการ Try-out เป็นการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาประมาณ 30 คน ในการทดสอบครั้งนี้ 

หากคำตอบของกลุ่มตัวอย่างทุกคนมีการแปลความหมายมาแล้วว่ามีความสอดคล้องกัน จะต้องมีค่าคะแนนของค่า Reliability มากกว่า 0.7 ขึ้นไป จะทำให้การ Try-out ในครั้งนี้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะสามารถนำแบบสอบถามนี้ไปสร้างเป็นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ได้ 

หากค่าคะแนนของค่า Reliability น้อยกว่า 0.7 อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจนหรือยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ ควรต้องมีการแก้ไขแล้วปรับปรุงในส่วนที่ยังมีข้อบกพร่องต่อไป

6. ปรับปรุงแบบสอบถาม

เมื่อทราบค่าคะแนนของค่า Reliability ว่าน้อยกว่า 0.7 ผู้วิจัยควรดูข้อเสนอแนะที่ผู้ตอบแบบสอบถามได้เสนอไว้ และนำมาปรับปรุง ซึ่งสาเหตุที่ทำให้ค่า Reliability น้อยกว่าเกณฑ์อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจน ยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามก็เป็นได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงควรแก้ไข ปรับปรุงข้อคำถามใหม่ และนำไป Try-out อีกครั้ง 

7. สร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์

เมื่อแบบสอบถามผ่านเกณฑ์ ผู้วิจัยสามารถสร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ และนำไปสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างได้ทันที

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัยข้อคำถามจะดีหรือไม่ดีนั้น ขึ้นอยู่ว่าคุณตั้งคำถามได้ตรงจุดหรือไม่ หากคุณตั้งคำถามที่ยากเกินไป หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบ จะทำให้ผู้ตอบไม่อยากตอบ เพราะไม่เข้าใจ ในขณะเดียวกันหากข้อคำถามมีปริมาณข้อคำถามที่เยอะเกินไป จนทำให้สร้างความกังวลใจกับผู้ตอบ จะส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบ ซึ่งเป็นผลเสียกับคุณเอง ทำให้ไม่ได้คำตอบที่แท้จริงในการแก้ไขปัญหานั้นๆ 

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

งานวิจัยที่ใช้สถิติ T-test คืออะไร ทำอย่างไรบ้าง

สถิติ T-test เป็นสถิตที่ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน และสัมพันธ์กัน ซึ่ง สถิติ T-test ที่ใช้ในงานวิจัยมี 3 แบบ แต่ละแบบใช้งานแตกต่างกันออกไป ดังนี้

1. One sample T-test 

ใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่น้อยกว่า 30 คน ส่วนใหญ่ใช้ในงานวิจัย สายวิทยาศาสตร์ 

ตัวอย่างเช่น ต้องการทราบสารประกอบที่อยู่ในทองคำน้ำหนัก 1 บาท จากการวัดทั้ง 10 ครั้ง พบว่า ผู้วิจัยสามารถวัดได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จากตามทฤษฎีสารประกอบที่อยู่ในทองคำ เมื่อรวมกันแล้วทองคำ 1 บาท ต้องมีน้ำหนัก 15.2 กรัม ดังนั้น สถิติ One sample T- test จะสามารถตัดสินใจได้ว่าน้ำหนักของสารประกอบที่อยู่ในทองจะแตกต่างไปจาก 15.2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ เป็นต้น

ดังนั้นสูตรของ One sample T- test จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

2. T-test Independent

ใช้กับงานวิจัยเชิงปริมาณที่มีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ส่วนใหญ่ใช้ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน 

ตัวอย่างเช่น กลุ่มผู้บริโภคที่มีเพศ ต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพต่างกัน ซึ่ง

เพศชาย จะแทนค่าด้วย 1

เพศหญิง จะแทนค่าด้วย 2

หากทั้ง 2 เพศที่เป็นอิสระต่อกันจะมีตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพที่ต่างกันหรือไม่นั้น จะทราบได้ก็ต่อเมื่อผลค่า Sig. ที่วิเคราะห์ออกมาต่ำกว่า 0.05 ถือว่า มีการซื้ออาหารสุขภาพที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และจะสามารถรู้ได้อีกว่าเพศไหนมีการตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพมากกว่ากัน

ดังนั้น สูตรของ T-test Independent จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

3. Paired Sample T-test

ใช้กับงานวิจัยเชิงทดลอง ส่วนใหญ่ใช้ในงานวิจัยของครู ที่ต้องทำการทดลองผลคะแนนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทั้งก่อนเรียน และหลังเรียน ว่ามีผลคะแนนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ เมื่อได้เรียนตามแผนการเรียนที่ครูพัฒนาขึ้น 

ตัวอย่างเช่น ผลคะแนนที่นักเรียนได้ทั้งก่อนและหลังการเรียน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน นักเรียนสอบได้คะแนนดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จากผลคะแนนถ้าหลังเรียน นักเรียนมีการสอบแล้วได้คะแนนดีขึ้นแสดงว่า แผนการเรียนการสอนที่ครูพัฒนาขึ้นมา ทำได้นักเรียนได้รับความรู้ สนุก จนทำให้ตั้งใจเรียนมากขึ้น ส่งผลให้ผลการเรียนดีขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินั่น

ดังนั้น สูตรของ Paired Sample T-test จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จะเห็นได้ว่าสถิติ T-test มีการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งผู้วิจัยควรจะเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานวิจัยของคุณถึงจะได้คำตอบที่ถูกต้อง และนำผลวิจัยไปต่อยอดในงานอื่นต่อไป

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท

นอกเหนือจากการรับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ หรือรับทำดุษฎีนิพนธ์ แบบครอบวงจร ทางบริษัทฯ เรายังมีบริการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม ไว้รองรับและอำนวยความสะดวกสบายให้แก่ผู้วิจัยอีกทางหนึ่ง

เพราะแบบสอบถามเป็นหนึ่งในเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) ซึ่งการจะนำข้อมูลมาวิเคราะห์ผลการศึกษาได้นั้น ต้องแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตัวเลขเสียก่อน ถึงจะนำมาวิเคราะห์ผลได้  ซึ่งข้อมูลตัวเลขนั้นอาจจะเป็นค่าที่ต่อเนื่อง ค่าจำนวนเต็ม หรือเป็นค่าจำนวนนับก็ได้ แล้วแต่การออกแบบแบบสอบถามของผู้วิจัย 

เช่น จุดทศนิยม น้ำหนัก ส่วนสูง เพศ อายุ สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน หรือแม้กระทั่งการแสดงความคิดเห็นในระดับต่างๆ ที่ผู้วิจัยมักเห็นอยู่เป็นประจำ ได้แก่ ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ระดับความคิดเห็นมาก ระดับความคิดเห็นปานกลาง ระดับความคิดเห็นน้อย ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด หรือบางงานวิจัยอาจจะมากกว่า 5 ระดับความคิดเห็น

และ หนึ่งในบริการของบริษัทฯ คือการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถามดังกล่าว ซึ่งหากผู้วิจัยไม่มีความชำนาญ หรือมีภาระงานที่ต้องรับผิดรับชอบอาจจะทำให้คีย์ข้อมูลได้ช้า และผิดพลาดได้ 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

ทางบริษัทฯ จึงมีบริการส่วนนี้ไว้คอยรองรับและดูแลท่านในส่วนนี้ เนื่องจากเรามีความเชี่ยวชาญและความชำนาญ ถือว่าเป็นบริการเสริมเพื่อทำให้งานวิจัยของท่านเสร็จได้อย่างรวดเร็วที่สุด ทันตามกำหนดเวลาที่จะส่งงานขึ้นสอน 

โดยผู้วิจัยที่สนใจในการใช้บริการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถามกับทางบริษัทฯ สามารถใช้บริการกับเราได้โดยติดต่อเข้ามาทางไลน์ที่ขึ้นด้านบน เมื่อตกลงรับงานท่านสามารถส่งแบบสอบถามมาให้เราทาง EMS เรามีทีมงานไว้คอยคีย์ข้อมูลตรงส่วนนี้ให้กับท่าน 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

ดังนั้นสิ่งที่ท่านจะได้จากการนำแบบสอบถามมาคีย์ข้อมูลกับบริษัทฯ ทางทีมงานจะสำรองข้อมูลของท่านใส่ลงใน Excel เพื่อส่งให้กับท่านทางอีเมล ในการนำส่งอาจารย์ 

หรือหากท่านจะทำบท 4-5 ต่อเพื่อวิเคราะห์ผล สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอในงานวิจัย บริษัทฯ มีบริการส่วนนี้เพิ่มเติม บริษัทฯ สามารถนำข้อมูลส่วนนี้ไปวิเคราะห์ต่อได้เลยตามที่ท่านต้องการโดยไม่เสียเวลา และท่านจะได้รับงานเสร็จเร็ว ตรงเวลา แน่นอน

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com

3 เทคนิคการออกแบบ แบบสอบถามลักษณะที่ดี!

การออกแบบ แบบสอบถามที่ดีได้นั้น นอกจากคุณจะได้คำตอบที่ตอบวัตถุประสงค์การวิจัยแล้ว ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ยังสามารถทราบพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามได้อย่างชัดเจนขึ้น และนำผลการศึกษาไปปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ หรือเป็นแนวทางในการทำการตลาดได้อีกด้วย

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com

ด้วยเหตุนี้ ลักษณะแบบสอบถามที่ดีสามารถทำให้ผู้ตอบแบบสอบถามเข้าใจได้ง่าย และผู้วิจัยได้คำตอบที่ตรงกับคำถาม จะต้องการออกแบบ แบบสอบถามให้มีลักษณะ ดังนี้

1. ข้อคำถามต้องกระชับเข้าใจง่าย

ในการตั้งคำถามนั้น ข้อคำถามที่ดีผู้อ่านต้องอ่านแล้วเข้าใจได้เลย ซึ่งนี่ถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่งของนักวิจัย ในการตั้งคำถาม เพราะคำถามที่ตั้งมานั้นจะต้องชัดเจน ไม่ถามกว้างเกินไป และไม่กำกวม เพราะจะทำให้ผู้ตอบเข้าใจผิด ส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบก็เป็นได้ 

เช่น ต้องการจะสอบถามพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง ว่ามีปัจจัยใดบ้างที่จะเป็นแรงผลักดันให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น 

ซึ่งแรงจูงใจในการทำงานตามหลักทฤษฎีของ Herzberg ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยค้ำจุน และปัจจัยจูงใจ เป็นทฤษฎีที่สามารถจัดองค์ประกอบแรงจูงใจได้อย่างชัดเจนและครอบคลุมที่สุด เมื่อพนักงานเกิดความพึงพอใจในปัจจัย ต่างๆ เหล่านี้ ก็จะทำให้พวกเขาเกิดความตั้งใจและมุ่งมั่น เพื่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของบริษัทได้เป็นอย่างดี 

ดังนั้นผู้วิจัยอาจจะทำการตั้งคำถาม สอบถามพนักงานว่า 
– เงินเดือนที่ท่านได้รับเหมาะสมกับตำแหน่งงานที่ท่านได้รับหรือไม่? 
– บริษัทของท่านสนับสนุนให้ท่านแสดงออกความคิดเพื่อแก้ไขปัญหางานสำคัญหรือไม่? 
– หรือหัวหน้างานของท่านมีความยุติธรรมกับลูกน้องใต้บังคับชาหรือไม่? เป็นต้น 

จึงกล่าวได้ว่าหลักการตั้งคำถามที่ดีนั้น จะต้องสรุปได้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน และอย่างไร ถึงจะเป็นลักษณะคำถามที่ดี แต่จะมีนักวิจัยสักกี่คนที่ทำได้ดี เพราะการตั้งคำถามถือได้ว่าเป็นการศิลปะผสมกับจิตวิทยา โดยจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. คำถามต้องตรงกับสถานการณ์ที่ผู้ตอบแบบสอบถามพบเจอ

ในการตั้งคำถามที่ดีนั้น จากโจทย์ข้างต้น หากตั้งคำถามที่ไม่ตรงกับสถานการณ์ที่พนักงานพบเจอผู้วิจัยจะไม่ได้คำตอบที่ชัดเจนเลย ผู้วิจัยควรศึกษาก่อนว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นใคร ทำงานลักษณะไหน และบรรยากาศการทำงานเป็นอย่างไร หรืออาจจะต้องศึกษาเพิ่มเติมว่าบริษัทที่พนักงานทำงานอยู่นั้นขายผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะเข้าใจพฤติกรรมของเขาและตั้งคำถามให้ตรงกับสถานการณ์ที่พนักงานพบเจอ 

3. จำนวนหน้าของแบบสอบถามไม่เยอะจนเกินไป

ในจำนวนหน้าของแบบสอบถามหากเยอะเกินไป ผู้ตอบแบบสอบถามจะรู้สึกว่าเสียเวลา และเบื่อหน่าย จนทำให้ผลของข้อมูลที่ได้ไม่น่าเชื่อถือและน่าไว้วางใจ เพราะการตอบแบบสอบถามแต่ละครั้งส่วนใหญ่จะใช้เวลาประมาณ 20-25 นาที 

ดังนั้นจำนวนหน้าของแบบสอบถามที่เหมาะสมจึงไม่ควรเกิน 3 – 4 หน้ากระดาษ A4 หากจำนวนหน้าเยอะมากกว่านี้ ควรพิจารณาขอบข่ายการวิจัยหากข้อคำถามใดไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยจริงๆ ควรตัดรายการข้อคำถามทิ้ง ฉะนั้นผู้วิจัยจึงควรร่วมกันพิจารณาเรื่องเหล่านี้ด้วย

เมื่อทำการออกแบบ แบบสอบถามออกมาสมบูรณ์แล้วผู้วิจัยควรให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ว่ามีคำถามใดบ้างที่ควรแก้ไขให้ถูกต้องตามทฤษฎีหรือไม่ รวมทั้งตรวจดูว่าข้อคำถามดังกล่าวยากเกินไปสำหรับผู้ตอบระดับนี้หรือไม่ และเหมาะสมเพียงไร มีลักษณะเป็นคำถามชี้นำหรือไม่ 

อีกทั้งยังควรพิจารณาตรวจสอบด้วยข้อข้อคำถามนี้จะได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง ถ้าไม่ถามจะขาดประโยชน์อย่างไรบ้าง รวมถึงตรวจดูการจัดหน้า เว้นวรรค และตัวสะกดการันต์ว่าถูกต้อง และเหมาะสมแล้วหรือไม่ เป็นต้น

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_การวิเคราะห์ ANOVA

5 ขั้นตอนกับการวิเคราะห์ ANOVA

การวิเคราะห์ ANOVA คือ เทคนิคการวิเคราะห์ที่ใช้ทดสอบสมมติฐานของตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ขึ้นไป ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ในการวิเคราะห์วิจัยเชิงปริมาณ 

บทความนี้จึงจะนำคุณมาสู่ 5 ขั้นตอนในการเริ่มต้นวิเคราะห์ ANOVA ดังนี้

1. การตั้งสมมติฐาน

การตั้งสมมติฐานเป็นส่วนหนึ่งของการอธิบายผลที่ต้องการจะศึกษา เนื่องมาจากการตั้งสมมติฐานต้องคาดคะเนคำตอบ อย่างมีเหตุมีผล โดยจะต้อง ระบุให้ชัดเจนว่าอะไรสัมพันธ์กับอะไร สัมพันธ์กันอย่างไร หรืออะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล เนื่องจากสมมติฐานเป็นข้อยืนยัน เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือเกินกว่านั้น ดังนั้นการวิเคราะห์ ANOVA จึงมีสูตรการตั้งสมมติฐานดังนี้

ตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน

– ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด แตกต่างกัน สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้

H0 : ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด  
H1 : ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ไม่ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด  

– อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้

H0 : อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน
H1 : อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม ไม่แตกต่างกัน

2. กำหนดระดับนัยสำคัญ

เมื่อตั้งสมมติฐานได้แล้ว  สิ่งที่จะสามารถบอกถึงความเป็นไปได้ของผลที่กำลังศึกษาได้ ก็คือระดับนัยสำคัญถ้าสมมติฐานหลักเป็นความจริง ระดับนัยสำคัญมักมีค่าน้อยกว่า 0.05 เสมอ

ดังนั้นระดับนัยสำคัญ มักตั้งไว้ที่ 0.05 ซึ่งหมายถึง ความเป็นไปได้ของข้อมูลที่จะเป็นความจริง หากระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.01 นั่นหมายความว่า ความเป็นไปได้ของข้อมูลที่จะเป็นความจริงมีมากขึ้น นั่นเอง

แต่กระนั้นระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ถือว่าเป็นสิ่งที่สามารถยอมรับได้แล้ว

3. เลือกวิธีการทางสถิติ

ต่อมาคุณจะต้องเลือกวิธีการสถิติเพื่อทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยส่วนใหญ่จะใช้การเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison test) ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) หรือการทดสอบ HSD ของทูกีย์ (Tukey’s HSD test) หรือ วิธีของนิวแมนคูลส์ (Newman Keuls method) 

ซึ่งเคยกล่าวไว้ในบทความก่อนหน้านี้ ซึ่งการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ที่นิยมมากที่สุดก็คือ วิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) นั่นเอง 

4. หาค่า Sig. หรือค่า P-Value

ค่า Sig. หรือบางมหาลัยเรียก ค่า P-Value เป็นตัวเลขที่จะบอกว่าตัวแปรต้นส่งผลต่อตัวแปรตามหรือไม่ หากค่า Sig. ต่ำกว่า 0.05 แสดงว่าตัวแปรต้นส่งผลต่อตัวแปรตาม ตรงกันข้าม หากค่า Sig. มากกว่า 0.05 แสดงว่า ตัวแปรต้นไม่ส่งผลต่อตัวแปรตามเช่นกัน ซึ่งผลการวิเคราะห์สามารถศึกษาได้จากหัวข้อต่อไป

5. วิเคราะห์ผลและสรุป

จากตัวอย่างการตั้งสมมติฐานข้างต้น สามารถวิเคราะห์ผลและสรุปผลได้ดังนี้

– ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด แตกต่างกัน

หากค่า Sig. มีระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน H0 ปฏิเสธสมมติฐาน H1 นั่นหมายความว่า ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

– อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน

หากค่า Sig. มีระดับนัยสำคัญมากกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน H1 ปฏิเสธสมมติฐาน H0 นั่นหมายความว่า อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม ไม่แตกต่างกัน 

จะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์ ANOVA คงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปหากคุณได้เทคนิคดีๆ จากบริษัทเรา

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม

ข้อคำถามเด็ดโดนใจ ในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ

แบบสอบถามความพึงพอใจ ส่วนใหญ่เป็นการสอบถามพฤติกรรมของผู้บริโภค ว่ามีการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างไร มีการสืบค้นข้อมูลในการซื้อผลิตภัณฑ์อย่างไร มีความถี่ในการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างไร และใครเป็นผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์นั้น 

เนื่องจากทุกๆ พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสาร สังคม หรือเทคโนโลยี ในปัจจุบันจะส่งผลให้เกิดความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ทั้งสิ้น

ดังนั้น ผู้ประกอบการหรือผู้วิจัยหลายท่านจึงต้องวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อทราบความพึงพอใจในการนำข้อมูลมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุด 

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม

ทฤษฎี 6W1H เป็นหนึ่งในการนำมาวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภค ในบทความนี้ เราจะนำคุณไปสู่การตั้งข้อคำถามเด็ดโดนใจ ตามทฤษฎีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ โดยใช้ทฤษฎี  6W1H ซึ่งจะต้องถามด้วยคำถามต่อไปนี้

1. Who

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคจริงๆ ของธุรกิจคือใคร เช่น

– ท่านมีเพศอะไร?
– ท่านมีอายุอยู่ในเจนเนอเรชั่นไหน?
– ท่านทำอาชีพอะไร?
– ท่านมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่าไร?
– ท่านจบการศึกษาชั้นไหน?

2. What 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าอะไรคือสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ เช่น

– ท่านชอบใส่ชุดออกกำลังกายยี่ห้ออะไร?
– สื่อสังคมออนไลน์ใด ที่ทำให้ท่านได้ข้อมูลในการตัดสินใจซื้อสินค้า?
– ท่านใส่เสื้อผ้าไซต์อะไร?
– ท่านชอบใส่เสื้อผ้าสไตส์ไหน?
– ท่านชอบชุดออกกำลัยกายที่มีลักษณะอย่างไร?

3. Where 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคซื้อสินค้าของเราจากที่ไหนบ้าง เช่น

– ท่านซื้ออาหารที่ไหนบ้าง?
– ท่านออกกำลังกายที่ไหน?
– ท่านชอบช้อปปิ้งห้างไหน?
– ท่านอยากไปฮันนีมูนที่ไหน?
– ท่านชอบไปเที่ยวประเทศไหน?

4. When 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าส่วนใหญ่ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าของเราเมื่อไหร่ เวลาไหน เช่น

– ท่านใช้บริการ FOOD PANDA ในการสั่งซื้ออาหารส่วนใหญ่เวลากี่โมง?
– ท่านซื้อสินค้าออนไลน์เวลาไหน?
– ท่านเข้างานเวลากี่โมง?
– ท่านเลิกงานเวลากี่โมง?
– ท่าน ดู YouTube เวลาไหน?

5. Why 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าทำไมผู้บริโภคถึงตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการ เช่น

– เหตุใดท่านถึงชอบซื้อสินค้าออนไลน์?
– ทำไมท่านถึงเลือกซื้อหมอนยางพารา?
– ทำไมท่านเลือกใช้บริการธนาคารกสิกรไทย?
– ทำไมท่านถึงเลือกให้บุตรหลานเรียนภาษาจีนเพิ่มเติม?
– ทำไมท่านถึงเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่น LAZADA?

6. Whom 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าใครมีอิทธิพลในการตัดสินใจในการซื้อ ของผู้บริโภคบ้าง เช่น

– ใครที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าของท่าน?
– ใครที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจให้ท่านอ่านหนังสือ?
– ใครที่มีอิทธิพลในการทำช่อง YouTube ของท่าน?
– ท่านมีแบบอย่างมาจากใครในการใช้ชีวิต?
– ใครเป็นแรงบันดาลใจในการทำธุรกิจจองท่าน?

7. How 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคซื้อสินค้าอย่างไรบ้าง เช่น

– ท่านซื้อสินออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นใดบ้าง?
– ส่วนใหญ่ท่านเรียกแท็กซี่ผ่านแอพพลิเคชั่น Grab อย่างไร?
– ท่านซื้ออาหารสุขภาพอย่างไร?
– ท่านเลือกชำระสินค้าอย่างไรในการซื้อสินค้าออนไลน์?
– ก่อนซื้อตั๋วเครื่องบินท่านหาข้อมูลอย่างไรบ้าง

จากข้อคำถาม 6W1H คุณจะรู้ได้เลยว่า ผู้บริโภคคือใคร ซื้อสินค้าอะไรบ้าง ซื้อจากที่ไหนบ้าง ซื้อเมื่อไหร่ ทำไมถึงซื้อ ตัดสิใจซื้อจากใคร และซื้ออย่างไร

ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ สำหรับผู้ประกอบการทั้งหลายที่จะทราบว่าพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าของท่านมีลักษณะอย่างไร เพื่อที่จะได้ทำการตลาดให้ตอบสนองความพึงพอใจผู้บริโภคให้ได้มากที่สุด 

ดังคำสุภาษิตที่ว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง”

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA

ระหว่างกลุ่ม กับ ภายในกลุ่ม สำหรับการวิเคราะห์ ANOVA คืออะไร?

การวิเคราะห์ ANOVA นั้น คือการเปรียบเทียบตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่มดังนั้นการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างตัวแปรหลายๆ กลุ่ม จึงมีความแปรปรวนที่ต้องคำนวณอยู่ 2 ตัว คือ ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม และความแปรปรวนภายในกลุ่ม

หลักในการทดสอบความแปรปรวนของ ANOVA จึงแบ่งความแปรปรวนของข้อมูลออกตามสาเหตุที่ทำให้ข้อมูลนั้นแตกต่างกัน จึงมีสูตรว่า

ความแปรปรวนทั้งหมด = ความแปรปรวนภายในกลุ่ม + ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม

ดังนั้นความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม กับภายในกลุ่มจึงแตกต่างกันดังนี้

1. ระหว่างกลุ่ม (Between groups) 

เป็นความแปรปรวนที่สามารถอธิบายได้ด้วยตัวแปรที่ศึกษา เช่น อายุ สถานภาพ อาชีพ ระดับการศึกษา รายได้ เป็นต้น หากความแปรปวนระหว่างกลุ่ม มีค่าเฉลี่ยของกลุ่มต่างๆ สูง สังเกตุที่ค่า  Mean Square (MS) แสดงว่าแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันมาก

2. ภายในกลุ่ม (Within groups) 

เป็นความแปรปรวนตามธรรมชาติที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยตัวแปรใดๆ หากมีค่าเฉลี่ยน้อย แสดงว่า ข้อมูลมีความกระจุกตัว หากมีค่าเฉลี่ยสูงแสดงว่าข้อมูลในกลุ่มมีการกระจายตัวมาก หรืออาจจะหมายถึงค่าข้อมูลที่มีความคลาดเคลื่อนมากเช่นกัน

ตัวอย่างเช่น กลุ่มอายุใด ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่น?

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

จากรูปจะเห็นได้ว่า โจทย์ต้องการทราบว่า กลุ่มอายุไหนที่ส่งผลต่อความแปรปรวนในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่น 

ดังนั้น ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม จะตอบได้ว่าในแต่ละช่วงอายุ มีการตัดสินใจซื้อเสื้อแฟชั่น จำนวนเท่าไหร่

ส่วน ความแปรปรวนภายในกลุ่ม จะตอบได้ว่า กลุ่มอายุใดมีการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นแบบกระจุกตัวหรือกระจายตัว หากการตัดสินใจเป็นแบบกระจุกตัว สิ่งนี้จะทำให้ผู้วิจัยทราบว่าสินค้านั้นอาจจะเป็นสินค้าที่กำลังมีกระแสอยู่ ณ ตอนนั้น 

เช่น กระแสเสื้อผ้าแฟชั่นที่วง K-POP ใส่อยู่ โดยกลุ่มผู้บริโภคดังกล่าว จะมีการตัดสินใจไปในแนวทางเดียวกัน หากการตัดสินใจซื้อ มีการตอบแบบกระจายตัว เช่นตอบมากที่สุดบ้าง มากบ้าง ปานกลางบ้าง น้อยบ้าง แสดงว่าการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นนั้น อาจจะเป็นสินค้าเฉพาะกลุ่ม เช่น เสื้อผ้าแนวโบฮีเมียน ซึ่งการตัดสินใจจะขึ้นอยู่ความชอบของแต่ละคน

จากข้อมูลดังกล่าวผู้ประกอบการจะได้ประโยชน์เป็นอย่างมาก ในการทำการตลาดให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย ตามคำกล่าวที่ว่า “น้ำขึ้นให้รีบตัก” หากสินค้าแฟชั่นใดมีการตัดสินใจแบบกระจุกตัว แสดงว่าสินค้านั้นกำลังได้รับความนิยมต้องรีบทำการตลาด เพื่อให้สินค้าปล่อยออกได้เร็วที่สุด เพราะสินค้าดังกล่าวมาตามกระแส มาเร็วและไปเร็ว 

ดังนั้นความแตกต่างของระหว่างกลุ่มกับภายในกลุ่มจึงแตกต่างกันแต่ 2 กระบวนการต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้คำตอบ นั่นเอง

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS

Save ข้อมูล ที่ลงไว้ในโปรแกรม SPSS มีขั้นตอนอย่างไร

เมื่อเราวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS เสร็จแล้ว สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ในทุกๆ ครั้ง คือการ Save ข้อมูล SPSS เพื่อนำ Output ไปใช้ในขั้นตอนการวิเคราะห์ผลต่อไป

บทความนี้จึงะนำคุณไปสู่วิธี Save ข้อมูล SPSS ที่สั้นและเข้าใจมากที่สุด โดยมีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกเมนู File > Save as

ในขั้นตอนนี้หากเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ เป็นภาษาไทยให้ไปที่เมนูแฟ้ม แล้วเลือกบันทึกเป็น

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2. เลือก Folder ที่ต้องการจะจัดเก็บไฟล์ข้อมูล ในที่นี้เก็บไฟล์ไว้ใน Folder test

ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่สำคัญมาก หากคุณจำไม่ได้ว่าคุณ Save ข้อมูล SPSS ไว้ที่ไหน นั่นหมายความว่าที่ทำมาไร้ความหมาย ไม่มีข้อมูลอ้างอิงหากมีการแก้ไขข้อมูลในโปรแกรม SPSS จะไม่สามารถทำได้เลย ดังนั้นจึงต้องตั้งชื่อที่คุณสามารถจำได้ด้วย

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

3. ตั้งชื่อไฟล์ ในแท็บ File name

จากการที่กล่าวไว้ข้างต้น ว่าการตั้งชื่อนั้นมีความสำคัญ ต้องตั้งชื่อไฟล์ที่คุณสามารถจดจำได้ เผื่อไว้กรณีที่มีการแก้ไขจะทำให้สามารถค้นหา และกลับมาแก้ไขไฟล์ได้ถูกต้อง อีกทั้งใครที่ไม่ถนัดภาษาอังกฤษ โปรแกรม SPSS ยังอนุญาตให้ตั้งชื่อได้ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ 

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

4. กดปุ่ม Save เป็นอันสิ้นสุดขั้นตอนการ Save

ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนสุดท้าย ซึ่งถือว่าเป็นการยืนยันการ Save ข้อมูล SPSS ที่ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลไว้ เมื่อกดปุ่ม Save แล้วคุณสามารถปิดโปรแกรมได้ทันทีหากไม่ได้ใช้แล้ว

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ในการ Save ข้อมูล SPSS ทุกครั้งสิ่งที่หลายๆ คนมักพลาดคือการเพิ่มเติมข้อมูลแล้วไม่กดปุ่ม Save ทับ ดังนั้นสิ่งที่ควรสังเกตทุกครั้งคือ หากพบว่าปุ่ม Save ในโปรแกรม SPSS ยังเป็นสีฟ้าอยู่แสดงว่าคุณยังไม่ได้ Save งาน นั่นเอง

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง

6 ทางลัดการวิเคราะห์ SPSS ให้สำเสร็จอย่างมืออาชีพ

กระบวนการในการวิเคราะห์ SPSS ให้รวดเร็วอย่างมืออาชีพนั้น ทุกกระบวนการต้องมีการวางแผนการทำงาน ตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน กำหนดเวลา และลงมือทำตามแผนที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ 

ในบทความนี้หากคุณกำลังสับสนในการเริ่ม วิเคราะห์ SPSS ว่าไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร ทางบริษัทจะนำคุณมาสู่ทางลัดที่เป็นมืออาชีพ ว่าเขาทำงานอย่างไรกัน ที่จะสามารถทำให้ การวิเคราะห์ SPSS เสร็จเร็วตามเวลาที่กำหนดได้ 

ซึ่งก่อนอื่นต้องเริ่มจากรวบรวมแบบสอบถามมาตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลทุกฉบับ ที่ได้แจกไป หลังจากนั้นก็สามารถเริ่มทำวิเคราะห์ข้อมูลได้เลย โดยการเริ่มต้นกระบวนการทางลัดอย่างมืออาชีพดังนี้

1. การกำหนดรหัสข้อมูล

ในการกำหนดรหัสข้อมูลของแบบสอบถาม หากคุณยังเป็นมือใหม่ ให้กำหนดรหัสในกระดาษ หรือแบบสอบถามก่อนสักหนึ่งชุด เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดรหัสข้อคำถามข้อนั้น 

ซึ่งรหัสแต่ละตัวแปรผู้กำหนดรหัสจะต้องตั้งชื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ ใช้ได้ทั้งตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และต้องมีความยาวของอักษรไม่เกิน 8 ตัว โดยอาจใช้ตัวอักษรผสมกับตัวเลขก็ได้ แต่ห้ามเว้นวรรค 

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2. การกำหนดชนิดตัวแปร

สำหรับการกำหนดชนิดของตัวแปร SPSS นั้น มีให้กำหนด 9 ชนิด ส่วนอีก 2 ช่องว่างที่เหลือให้กำหนดความกว้างของช่องตัวอักษร และตำแหน่งจุดทศนิยม ตามชนิดของข้อมูล ซึ่งหน้าต่างที่จะให้กำหนดตัวแปรแต่ละชนิดมีรายละเอียดให้เลือก ตามรูป

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ซึ่งชนิดของตัวแปรแต่ละตัวสามารถอธิบายให้เข้าใจง่าย ได้ดังนี้

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

3. การตรวจสอบค่า missing

เมื่อกรอกข้อมูลตามรหัสที่ได้ตั้งไว้เสร็จแล้ว การตรวจสอบค่า missing เป็นสิ่งสำคัญมาก เนื่องจากค่า missing จะทำให้ผลข้อมูลผิดพลาด หรือผิดเพี้ยนได้ 

ดังนั้นให้คุณสังเกตผลใน output หากค่า missing มีตัวเลขโชว์ควรรีบกลับไปแก้ไขให้ถูกต้อง แสดงว่าการกรอกของคุณต้องมีข้อผิดพลาด และหากข้อคำถามข้อใดผู้ตอบแบบสอบถามไม่มีคนตอบควรกำหนดรหัสเป็นตัวเลข 99 เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบ

4. การใช้คีย์ลัดในโปรแกรม SPSS

การใช้คีย์ลัดเป็นเครื่องมือสำคัญที่สามารถทำให้งานเสร็จไว้ขึ้น นอกจากนั้นยังสามารถตรวจสอบการคีย์ข้อมูลที่ผิดพลาดได้อย่างแม่นยำ และทำให้ค้นหาหรือแทนที่ได้อย่างรวดเร็ว อย่างเช่น

Ctrl+A ไว้ใช้สำหรับการเลือกข้อมูลทั้งหมด

Ctrl+C ไว้ใช้สำหรับการคัดลอก

Ctrl+V ไว้ใช้สำหรับการวางข้อมูล

Ctrl+X ไว้ใช้สำหรับการตัดข้อมูลเพื่อนำไปวางในตำแหน่งใหม่

Ctrl+F ไว้ใช้สำหรับการค้นหาข้อมูล

Ctrl+T ไว้ใช้สลับการทำงานสำหรับระหว่าง data view และ variable view

5. การวิเคราะห์ข้อมูลจากผล SPSS

เมื่อเช็คแล้วว่าข้อมูลที่กรอกไม่ผิดพลาด สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้เลยโดยจะต้องใช้สถิติให้ถูกต้องกับตัวแปรของแบบสอบถามแต่ละชนิดด้วย

6. การ Save ข้อมูลมาลง Word เพื่อกันการผิดพลาดในการวิเคราะห์ข้อมูล

ในขั้นตอนนี้คุณสามารถ Save ข้อมูลออกมาไว้ที่ Word ได้ ทำให้คัดลอกตัวเลขสะดวกขึ้น และป้องกันการวิเคราะห์ข้อมูลผิดพลาด และนอกจากนั้นสามารถดึงข้อมูล Output ไปวิเคราะห์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีโปรแกรม SPSS ได้ 

ซึ่งขั้นตอนนี้เพียงแค่ใช้คีย์ลัด Ctrl+A เพื่อเลือกข้อมูล output ทั้งหมด Ctrl+C คัดลอกข้อมูล และ Ctrl+V เพื่อนำข้อมูบมาวางใน Word

6 ทางลัดนี้ถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมาก หากคุณนำไปใช้ เพราะนอกจากจะทำให้วิเคราะห์ข้อมูล ได้ถูกต้องแม่นยำแล้ว ยังสามารถทำให้งานของคุณเสร็จไวขึ้นด้วย

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย