คลังเก็บป้ายกำกับ: แบบสอบถามความพึงพอใจ

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย ไม่ยากอย่างที่คิด!

แบบสอบถามงานวิจัย เป็นเครื่องมือการวิจัยอย่างหนึ่ง ที่ประกอบไปด้วยชุดคำถาม ที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความรู้สึก ความเชื่อ และความสนใจต่างๆ ที่เตรียมไว้สำหรับให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้เลือกตอบหรือเติมคำ เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย 

ซึ่งการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยนั้น ข้อคำถามจะถูกสร้างขึ้นจากกรอบแนวความคิดทฤษฎีของตัวแปรที่ต้องการศึกษา หรือต้องการวัด ซึ่งข้อคำถามที่ใช้ถาม ต้องมีเหมาะสมกับประเด็นที่จะวัด โดยจะมีหลักการในการสร้างเพื่อตามขั้นตอนดังนี้

1. พิจารณาหัวข้อปัญหาและวัตถุประสงค์

ในปัจจุบันพบว่า มีหลายงานวิจัยที่ไม่สามารถเลือกใช้แบบสอบถามได้อย่างเหมาะสมกับงานวิจัยของตนเองได้ เนื่องจากตั้งคำถามไม่ตรงกับลักษณะ หรือพฤติกรรม ของผู้ตอบแบบสอบถามจึงทำให้ ผลการวิจัยที่ออกมาไม่ตอบกับวัตถุประสงค์การวิจัยที่ตั้งไว้ ดังนั้นการทราบปัญหาการวิจัย และการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่ชัดเจน ถือเป็นเข็มทิศในการเดินทาง ที่จะทำให้ทราบจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยเลยทีเดียว 

ก่อนอื่นคุณต้องทราบปัญหาของงานวิจัยก่อน ว่างานวิจัยที่ทำอยู่นั้นมีปัญหาอะไร? 

ตัวอย่างเช่น บริษัทหนึ่งพนักงานไม่มีแรงจูงใจในการทำงาน พนักงานจึงมีการขาด ลา และมาสาย อยู่เป็นประจำ ทำให้งานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จากปัญหาดังกล่าวอาจเป็นเพราะปัจจัยต่างๆ เช่น พนักงานรู้สึกว่าตนเองได้รับค่าจ้างที่ไม่คุ้มค่ากับงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อนร่วมงานไม่ดี หรือไม่มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทแห่งนี้ 

จึงตั้งวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาสาเหตุการขาด ลา และมาสายของพนักงาน และศึกษาปัจจัยที่เป็นแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทดังกล่าว 

ดังนั้นสิ่งที่ผู้วิจัยจะต้องศึกษาเพื่อที่จะสร้างแบบสอบถามงานวิจัย โดยจะต้องศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการทำงาน ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวสามารถนำทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Clayton Alderfer ที่ได้พัฒนามาจากทฤษฎีความต้องการ Maslow มาปรับใช้ได้ ซึ่งจะกล่าวถึงวิธีพิจารณารูปแบบการตั้งคำถามในขั้นตอนต่อไป

2. พิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้

ในการพิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้ คุณสามารถหยิบยกข้อคำถามจากการศึกษาแนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ได้ เช่น ทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Alderfer สรุปว่า ความต้องการของมนุษย์สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่

E ตัวแรกคือ ความต้องการเพื่อการดำรงชีวิต (Existence needs = E) เป็นความต้องการจาก ค่าจ้างเงินโบนัส และผลประโยชน์ตอบแทน ตลอดจนสภาพการทำงานที่ดี ดังนั้นข้อคำถามที่ควรตั้ง อาจจะเป็นการสอบถาม ความพอใจที่ได้รับค่าจ้างหรือโบนัสสิ้นปี หรือสภาพการทำงานที่ได้รับว่าเหมาะกับค่าจ้างหรือไม่ เป็นต้น

R ตัวที่สองคือ ความต้องการทางด้านความสัมพันธ์ (Relatedness needs = R) เป็นความต้องการทางสังคมที่ต้องการการยอมรับจากหัวหน้า เพื่อนร่วมงาน ซึ่งข้อคำถามที่ควรตั้งเช่น ท่านสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมได้เป็นอย่างดีหรือไม่ หรือท่านได้รับการยกย่องจากหัวหน้าเมื่อทำงานได้สำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นต้น

G ตัวที่สามคือความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth needs = G) เป็นความต้องการเติบโตจากหน้าที่การงาน ข้อคำถามที่ควรตั้ง เช่น ท่านได้รับพิจารณาการเลื่อนตำแหน่งอยู่เสมอ เป็นต้น

ซึ่งทฤษฎีดังกล่าว ผู้วิจัยสามารถนำทฤษฎีมาปรับใช้เป็นแนวทางในการตั้งข้อคำถาม เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขปัญหาวิจัยได้ ซึ่งข้อคำถามที่ตั้งนั้น ควรสอบถามเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงระดับความคิดเห็น หรือเรียกว่าข้อคำถามแบบมาตรวัด scale ซึ่ง

5 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมากที่สุด 
4 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมาก
3 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นปานกลาง
2 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อย
1 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อยที่สุด 

3. ร่างแบบสอบถาม

เมื่อได้ข้อคำถามที่สอบถามแล้ว ผู้วิจัยต้องทำการรวบรวมคำถามโดยแบ่ง เป็นด้านตามแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ศึกษา ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยอาจจะร่างข้อคำถามในกระดาษ หรือสร้างข้อคำถามในโปรแกรม Word เลยก็ได้เช่นกัน

4. ตรวจสอบแบบสอบถาม

เมื่อร่างข้อคำถามเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยควรตรวจทานข้อคำถามก่อนว่าอ่านรู้เรื่องหรือไม่ มีคำผิดหรือไม่ แล้วข้อคำถามสอดคล้องกับสถานการณ์จริงหรือไม่ หากตรวจทานดูแล้วควรส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความคล้องอย่างน้อย 3 ท่าน เพื่อนำข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงข้อคำถามต่อไป 

ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า วิธีการทำ IOC ในการทดสอบนี้หากคะแนนของผู้เชี่ยวชาญที่ให้คะแนนแต่ละข้อคำถามรวมกัน หารจำนวนผู้เชี่ยวชาญ แล้วได้ค่าคะแนนแต่ละข้อมากกว่า 0.5 จึงถือว่าผ่าน สามารถนำไปทดสอบแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาได้

5. ทำการทดลองแบบสอบถาม (Try-out)

เมื่อตรวจสอบแบบสอบถามเสร็จแล้ว การทำการทดลองแบบสอบถามถือเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัย จะต้องทำอีกกระบวนการหนึ่ง เพื่อให้ทราบถึงความชัดเจนในทุกๆ ด้านของข้อคำถาม หากข้อคำถามมีความชัดเจน ผู้ตอบแบบสอบถามที่อ่านจะเข้าใจตรงกัน เนื่องจากแบบสอบถามมีการใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย รัดกุม ไม่มีความบกพร่องทางภาษา ทำให้การตรวจให้คะแนนมีเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน 

ซึ่งวิธีการดังกล่าวเรียกว่า วิธีการ Try-out เป็นการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาประมาณ 30 คน ในการทดสอบครั้งนี้ 

หากคำตอบของกลุ่มตัวอย่างทุกคนมีการแปลความหมายมาแล้วว่ามีความสอดคล้องกัน จะต้องมีค่าคะแนนของค่า Reliability มากกว่า 0.7 ขึ้นไป จะทำให้การ Try-out ในครั้งนี้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะสามารถนำแบบสอบถามนี้ไปสร้างเป็นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ได้ 

หากค่าคะแนนของค่า Reliability น้อยกว่า 0.7 อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจนหรือยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ ควรต้องมีการแก้ไขแล้วปรับปรุงในส่วนที่ยังมีข้อบกพร่องต่อไป

6. ปรับปรุงแบบสอบถาม

เมื่อทราบค่าคะแนนของค่า Reliability ว่าน้อยกว่า 0.7 ผู้วิจัยควรดูข้อเสนอแนะที่ผู้ตอบแบบสอบถามได้เสนอไว้ และนำมาปรับปรุง ซึ่งสาเหตุที่ทำให้ค่า Reliability น้อยกว่าเกณฑ์อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจน ยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามก็เป็นได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงควรแก้ไข ปรับปรุงข้อคำถามใหม่ และนำไป Try-out อีกครั้ง 

7. สร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์

เมื่อแบบสอบถามผ่านเกณฑ์ ผู้วิจัยสามารถสร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ และนำไปสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างได้ทันที

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัยข้อคำถามจะดีหรือไม่ดีนั้น ขึ้นอยู่ว่าคุณตั้งคำถามได้ตรงจุดหรือไม่ หากคุณตั้งคำถามที่ยากเกินไป หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบ จะทำให้ผู้ตอบไม่อยากตอบ เพราะไม่เข้าใจ ในขณะเดียวกันหากข้อคำถามมีปริมาณข้อคำถามที่เยอะเกินไป จนทำให้สร้างความกังวลใจกับผู้ตอบ จะส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบ ซึ่งเป็นผลเสียกับคุณเอง ทำให้ไม่ได้คำตอบที่แท้จริงในการแก้ไขปัญหานั้นๆ 

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

งานวิจัยที่ใช้สถิติ T-test คืออะไร ทำอย่างไรบ้าง

สถิติ T-test เป็นสถิตที่ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน และสัมพันธ์กัน ซึ่ง สถิติ T-test ที่ใช้ในงานวิจัยมี 3 แบบ แต่ละแบบใช้งานแตกต่างกันออกไป ดังนี้

1. One sample T-test 

ใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่น้อยกว่า 30 คน ส่วนใหญ่ใช้ในงานวิจัย สายวิทยาศาสตร์ 

ตัวอย่างเช่น ต้องการทราบสารประกอบที่อยู่ในทองคำน้ำหนัก 1 บาท จากการวัดทั้ง 10 ครั้ง พบว่า ผู้วิจัยสามารถวัดได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จากตามทฤษฎีสารประกอบที่อยู่ในทองคำ เมื่อรวมกันแล้วทองคำ 1 บาท ต้องมีน้ำหนัก 15.2 กรัม ดังนั้น สถิติ One sample T- test จะสามารถตัดสินใจได้ว่าน้ำหนักของสารประกอบที่อยู่ในทองจะแตกต่างไปจาก 15.2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ เป็นต้น

ดังนั้นสูตรของ One sample T- test จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

2. T-test Independent

ใช้กับงานวิจัยเชิงปริมาณที่มีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ส่วนใหญ่ใช้ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน 

ตัวอย่างเช่น กลุ่มผู้บริโภคที่มีเพศ ต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพต่างกัน ซึ่ง

เพศชาย จะแทนค่าด้วย 1

เพศหญิง จะแทนค่าด้วย 2

หากทั้ง 2 เพศที่เป็นอิสระต่อกันจะมีตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพที่ต่างกันหรือไม่นั้น จะทราบได้ก็ต่อเมื่อผลค่า Sig. ที่วิเคราะห์ออกมาต่ำกว่า 0.05 ถือว่า มีการซื้ออาหารสุขภาพที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และจะสามารถรู้ได้อีกว่าเพศไหนมีการตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพมากกว่ากัน

ดังนั้น สูตรของ T-test Independent จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

3. Paired Sample T-test

ใช้กับงานวิจัยเชิงทดลอง ส่วนใหญ่ใช้ในงานวิจัยของครู ที่ต้องทำการทดลองผลคะแนนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทั้งก่อนเรียน และหลังเรียน ว่ามีผลคะแนนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ เมื่อได้เรียนตามแผนการเรียนที่ครูพัฒนาขึ้น 

ตัวอย่างเช่น ผลคะแนนที่นักเรียนได้ทั้งก่อนและหลังการเรียน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน นักเรียนสอบได้คะแนนดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จากผลคะแนนถ้าหลังเรียน นักเรียนมีการสอบแล้วได้คะแนนดีขึ้นแสดงว่า แผนการเรียนการสอนที่ครูพัฒนาขึ้นมา ทำได้นักเรียนได้รับความรู้ สนุก จนทำให้ตั้งใจเรียนมากขึ้น ส่งผลให้ผลการเรียนดีขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินั่น

ดังนั้น สูตรของ Paired Sample T-test จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จะเห็นได้ว่าสถิติ T-test มีการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งผู้วิจัยควรจะเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานวิจัยของคุณถึงจะได้คำตอบที่ถูกต้อง และนำผลวิจัยไปต่อยอดในงานอื่นต่อไป

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท

นอกเหนือจากการรับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ หรือรับทำดุษฎีนิพนธ์ แบบครอบวงจร ทางบริษัทฯ เรายังมีบริการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม ไว้รองรับและอำนวยความสะดวกสบายให้แก่ผู้วิจัยอีกทางหนึ่ง

เพราะแบบสอบถามเป็นหนึ่งในเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) ซึ่งการจะนำข้อมูลมาวิเคราะห์ผลการศึกษาได้นั้น ต้องแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตัวเลขเสียก่อน ถึงจะนำมาวิเคราะห์ผลได้  ซึ่งข้อมูลตัวเลขนั้นอาจจะเป็นค่าที่ต่อเนื่อง ค่าจำนวนเต็ม หรือเป็นค่าจำนวนนับก็ได้ แล้วแต่การออกแบบแบบสอบถามของผู้วิจัย 

เช่น จุดทศนิยม น้ำหนัก ส่วนสูง เพศ อายุ สถานภาพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน หรือแม้กระทั่งการแสดงความคิดเห็นในระดับต่างๆ ที่ผู้วิจัยมักเห็นอยู่เป็นประจำ ได้แก่ ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ระดับความคิดเห็นมาก ระดับความคิดเห็นปานกลาง ระดับความคิดเห็นน้อย ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด หรือบางงานวิจัยอาจจะมากกว่า 5 ระดับความคิดเห็น

และ หนึ่งในบริการของบริษัทฯ คือการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถามดังกล่าว ซึ่งหากผู้วิจัยไม่มีความชำนาญ หรือมีภาระงานที่ต้องรับผิดรับชอบอาจจะทำให้คีย์ข้อมูลได้ช้า และผิดพลาดได้ 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

ทางบริษัทฯ จึงมีบริการส่วนนี้ไว้คอยรองรับและดูแลท่านในส่วนนี้ เนื่องจากเรามีความเชี่ยวชาญและความชำนาญ ถือว่าเป็นบริการเสริมเพื่อทำให้งานวิจัยของท่านเสร็จได้อย่างรวดเร็วที่สุด ทันตามกำหนดเวลาที่จะส่งงานขึ้นสอน 

โดยผู้วิจัยที่สนใจในการใช้บริการรับคีย์ข้อมูลแบบสอบถามกับทางบริษัทฯ สามารถใช้บริการกับเราได้โดยติดต่อเข้ามาทางไลน์ที่ขึ้นด้านบน เมื่อตกลงรับงานท่านสามารถส่งแบบสอบถามมาให้เราทาง EMS เรามีทีมงานไว้คอยคีย์ข้อมูลตรงส่วนนี้ให้กับท่าน 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม

ดังนั้นสิ่งที่ท่านจะได้จากการนำแบบสอบถามมาคีย์ข้อมูลกับบริษัทฯ ทางทีมงานจะสำรองข้อมูลของท่านใส่ลงใน Excel เพื่อส่งให้กับท่านทางอีเมล ในการนำส่งอาจารย์ 

หรือหากท่านจะทำบท 4-5 ต่อเพื่อวิเคราะห์ผล สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอในงานวิจัย บริษัทฯ มีบริการส่วนนี้เพิ่มเติม บริษัทฯ สามารถนำข้อมูลส่วนนี้ไปวิเคราะห์ต่อได้เลยตามที่ท่านต้องการโดยไม่เสียเวลา และท่านจะได้รับงานเสร็จเร็ว ตรงเวลา แน่นอน

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com

3 เทคนิคการออกแบบ แบบสอบถามลักษณะที่ดี!

การออกแบบ แบบสอบถามที่ดีได้นั้น นอกจากคุณจะได้คำตอบที่ตอบวัตถุประสงค์การวิจัยแล้ว ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ยังสามารถทราบพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามได้อย่างชัดเจนขึ้น และนำผลการศึกษาไปปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ หรือเป็นแนวทางในการทำการตลาดได้อีกด้วย

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com

ด้วยเหตุนี้ ลักษณะแบบสอบถามที่ดีสามารถทำให้ผู้ตอบแบบสอบถามเข้าใจได้ง่าย และผู้วิจัยได้คำตอบที่ตรงกับคำถาม จะต้องการออกแบบ แบบสอบถามให้มีลักษณะ ดังนี้

1. ข้อคำถามต้องกระชับเข้าใจง่าย

ในการตั้งคำถามนั้น ข้อคำถามที่ดีผู้อ่านต้องอ่านแล้วเข้าใจได้เลย ซึ่งนี่ถือเป็นศิลปะอย่างหนึ่งของนักวิจัย ในการตั้งคำถาม เพราะคำถามที่ตั้งมานั้นจะต้องชัดเจน ไม่ถามกว้างเกินไป และไม่กำกวม เพราะจะทำให้ผู้ตอบเข้าใจผิด ส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบก็เป็นได้ 

เช่น ต้องการจะสอบถามพนักงานบริษัทแห่งหนึ่ง ว่ามีปัจจัยใดบ้างที่จะเป็นแรงผลักดันให้งานมีประสิทธิภาพมากขึ้น 

ซึ่งแรงจูงใจในการทำงานตามหลักทฤษฎีของ Herzberg ประกอบด้วย 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยค้ำจุน และปัจจัยจูงใจ เป็นทฤษฎีที่สามารถจัดองค์ประกอบแรงจูงใจได้อย่างชัดเจนและครอบคลุมที่สุด เมื่อพนักงานเกิดความพึงพอใจในปัจจัย ต่างๆ เหล่านี้ ก็จะทำให้พวกเขาเกิดความตั้งใจและมุ่งมั่น เพื่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของบริษัทได้เป็นอย่างดี 

ดังนั้นผู้วิจัยอาจจะทำการตั้งคำถาม สอบถามพนักงานว่า 
– เงินเดือนที่ท่านได้รับเหมาะสมกับตำแหน่งงานที่ท่านได้รับหรือไม่? 
– บริษัทของท่านสนับสนุนให้ท่านแสดงออกความคิดเพื่อแก้ไขปัญหางานสำคัญหรือไม่? 
– หรือหัวหน้างานของท่านมีความยุติธรรมกับลูกน้องใต้บังคับชาหรือไม่? เป็นต้น 

จึงกล่าวได้ว่าหลักการตั้งคำถามที่ดีนั้น จะต้องสรุปได้ว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน และอย่างไร ถึงจะเป็นลักษณะคำถามที่ดี แต่จะมีนักวิจัยสักกี่คนที่ทำได้ดี เพราะการตั้งคำถามถือได้ว่าเป็นการศิลปะผสมกับจิตวิทยา โดยจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. คำถามต้องตรงกับสถานการณ์ที่ผู้ตอบแบบสอบถามพบเจอ

ในการตั้งคำถามที่ดีนั้น จากโจทย์ข้างต้น หากตั้งคำถามที่ไม่ตรงกับสถานการณ์ที่พนักงานพบเจอผู้วิจัยจะไม่ได้คำตอบที่ชัดเจนเลย ผู้วิจัยควรศึกษาก่อนว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นใคร ทำงานลักษณะไหน และบรรยากาศการทำงานเป็นอย่างไร หรืออาจจะต้องศึกษาเพิ่มเติมว่าบริษัทที่พนักงานทำงานอยู่นั้นขายผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะเข้าใจพฤติกรรมของเขาและตั้งคำถามให้ตรงกับสถานการณ์ที่พนักงานพบเจอ 

3. จำนวนหน้าของแบบสอบถามไม่เยอะจนเกินไป

ในจำนวนหน้าของแบบสอบถามหากเยอะเกินไป ผู้ตอบแบบสอบถามจะรู้สึกว่าเสียเวลา และเบื่อหน่าย จนทำให้ผลของข้อมูลที่ได้ไม่น่าเชื่อถือและน่าไว้วางใจ เพราะการตอบแบบสอบถามแต่ละครั้งส่วนใหญ่จะใช้เวลาประมาณ 20-25 นาที 

ดังนั้นจำนวนหน้าของแบบสอบถามที่เหมาะสมจึงไม่ควรเกิน 3 – 4 หน้ากระดาษ A4 หากจำนวนหน้าเยอะมากกว่านี้ ควรพิจารณาขอบข่ายการวิจัยหากข้อคำถามใดไม่ตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัยจริงๆ ควรตัดรายการข้อคำถามทิ้ง ฉะนั้นผู้วิจัยจึงควรร่วมกันพิจารณาเรื่องเหล่านี้ด้วย

เมื่อทำการออกแบบ แบบสอบถามออกมาสมบูรณ์แล้วผู้วิจัยควรให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน ว่ามีคำถามใดบ้างที่ควรแก้ไขให้ถูกต้องตามทฤษฎีหรือไม่ รวมทั้งตรวจดูว่าข้อคำถามดังกล่าวยากเกินไปสำหรับผู้ตอบระดับนี้หรือไม่ และเหมาะสมเพียงไร มีลักษณะเป็นคำถามชี้นำหรือไม่ 

อีกทั้งยังควรพิจารณาตรวจสอบด้วยข้อข้อคำถามนี้จะได้ประโยชน์อย่างไรบ้าง ถ้าไม่ถามจะขาดประโยชน์อย่างไรบ้าง รวมถึงตรวจดูการจัดหน้า เว้นวรรค และตัวสะกดการันต์ว่าถูกต้อง และเหมาะสมแล้วหรือไม่ เป็นต้น

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_การวิเคราะห์ ANOVA

5 ขั้นตอนกับการวิเคราะห์ ANOVA

การวิเคราะห์ ANOVA คือ เทคนิคการวิเคราะห์ที่ใช้ทดสอบสมมติฐานของตัวแปรที่มากกว่า 2 กลุ่ม ขึ้นไป ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ในการวิเคราะห์วิจัยเชิงปริมาณ 

บทความนี้จึงจะนำคุณมาสู่ 5 ขั้นตอนในการเริ่มต้นวิเคราะห์ ANOVA ดังนี้

1. การตั้งสมมติฐาน

การตั้งสมมติฐานเป็นส่วนหนึ่งของการอธิบายผลที่ต้องการจะศึกษา เนื่องมาจากการตั้งสมมติฐานต้องคาดคะเนคำตอบ อย่างมีเหตุมีผล โดยจะต้อง ระบุให้ชัดเจนว่าอะไรสัมพันธ์กับอะไร สัมพันธ์กันอย่างไร หรืออะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล เนื่องจากสมมติฐานเป็นข้อยืนยัน เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือเกินกว่านั้น ดังนั้นการวิเคราะห์ ANOVA จึงมีสูตรการตั้งสมมติฐานดังนี้

ตัวอย่างการตั้งสมมติฐาน

– ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด แตกต่างกัน สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้

H0 : ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด  
H1 : ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ไม่ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด  

– อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน สามารถเขียนสมมติฐานได้ดังนี้

H0 : อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน
H1 : อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม ไม่แตกต่างกัน

2. กำหนดระดับนัยสำคัญ

เมื่อตั้งสมมติฐานได้แล้ว  สิ่งที่จะสามารถบอกถึงความเป็นไปได้ของผลที่กำลังศึกษาได้ ก็คือระดับนัยสำคัญถ้าสมมติฐานหลักเป็นความจริง ระดับนัยสำคัญมักมีค่าน้อยกว่า 0.05 เสมอ

ดังนั้นระดับนัยสำคัญ มักตั้งไว้ที่ 0.05 ซึ่งหมายถึง ความเป็นไปได้ของข้อมูลที่จะเป็นความจริง หากระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.01 นั่นหมายความว่า ความเป็นไปได้ของข้อมูลที่จะเป็นความจริงมีมากขึ้น นั่นเอง

แต่กระนั้นระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ถือว่าเป็นสิ่งที่สามารถยอมรับได้แล้ว

3. เลือกวิธีการทางสถิติ

ต่อมาคุณจะต้องเลือกวิธีการสถิติเพื่อทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ โดยส่วนใหญ่จะใช้การเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple comparison test) ตามวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) หรือการทดสอบ HSD ของทูกีย์ (Tukey’s HSD test) หรือ วิธีของนิวแมนคูลส์ (Newman Keuls method) 

ซึ่งเคยกล่าวไว้ในบทความก่อนหน้านี้ ซึ่งการทดสอบค่าเฉลี่ยรายคู่ที่นิยมมากที่สุดก็คือ วิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) นั่นเอง 

4. หาค่า Sig. หรือค่า P-Value

ค่า Sig. หรือบางมหาลัยเรียก ค่า P-Value เป็นตัวเลขที่จะบอกว่าตัวแปรต้นส่งผลต่อตัวแปรตามหรือไม่ หากค่า Sig. ต่ำกว่า 0.05 แสดงว่าตัวแปรต้นส่งผลต่อตัวแปรตาม ตรงกันข้าม หากค่า Sig. มากกว่า 0.05 แสดงว่า ตัวแปรต้นไม่ส่งผลต่อตัวแปรตามเช่นกัน ซึ่งผลการวิเคราะห์สามารถศึกษาได้จากหัวข้อต่อไป

5. วิเคราะห์ผลและสรุป

จากตัวอย่างการตั้งสมมติฐานข้างต้น สามารถวิเคราะห์ผลและสรุปผลได้ดังนี้

– ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด แตกต่างกัน

หากค่า Sig. มีระดับนัยสำคัญต่ำกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน H0 ปฏิเสธสมมติฐาน H1 นั่นหมายความว่า ความถี่ในการสูบบุหรี่ ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการเป็นโรคมะเร็งปอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

– อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม แตกต่างกัน

หากค่า Sig. มีระดับนัยสำคัญมากกว่า 0.05 แสดงว่า ยอมรับสมมติฐาน H1 ปฏิเสธสมมติฐาน H0 นั่นหมายความว่า อายุของผู้บริโภคที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม ไม่แตกต่างกัน 

จะเห็นได้ว่าการวิเคราะห์ ANOVA คงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไปหากคุณได้เทคนิคดีๆ จากบริษัทเรา

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม

ข้อคำถามเด็ดโดนใจ ในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ

แบบสอบถามความพึงพอใจ ส่วนใหญ่เป็นการสอบถามพฤติกรรมของผู้บริโภค ว่ามีการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างไร มีการสืบค้นข้อมูลในการซื้อผลิตภัณฑ์อย่างไร มีความถี่ในการใช้ผลิตภัณฑ์อย่างไร และใครเป็นผู้มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์นั้น 

เนื่องจากทุกๆ พฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าจะเป็นการสื่อสาร สังคม หรือเทคโนโลยี ในปัจจุบันจะส่งผลให้เกิดความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ทั้งสิ้น

ดังนั้น ผู้ประกอบการหรือผู้วิจัยหลายท่านจึงต้องวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อทราบความพึงพอใจในการนำข้อมูลมาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ ให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุด 

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม

ทฤษฎี 6W1H เป็นหนึ่งในการนำมาวิเคราะห์พฤติกรรมของผู้บริโภค ในบทความนี้ เราจะนำคุณไปสู่การตั้งข้อคำถามเด็ดโดนใจ ตามทฤษฎีการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ โดยใช้ทฤษฎี  6W1H ซึ่งจะต้องถามด้วยคำถามต่อไปนี้

1. Who

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคจริงๆ ของธุรกิจคือใคร เช่น

– ท่านมีเพศอะไร?
– ท่านมีอายุอยู่ในเจนเนอเรชั่นไหน?
– ท่านทำอาชีพอะไร?
– ท่านมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเท่าไร?
– ท่านจบการศึกษาชั้นไหน?

2. What 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าอะไรคือสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ เช่น

– ท่านชอบใส่ชุดออกกำลังกายยี่ห้ออะไร?
– สื่อสังคมออนไลน์ใด ที่ทำให้ท่านได้ข้อมูลในการตัดสินใจซื้อสินค้า?
– ท่านใส่เสื้อผ้าไซต์อะไร?
– ท่านชอบใส่เสื้อผ้าสไตส์ไหน?
– ท่านชอบชุดออกกำลัยกายที่มีลักษณะอย่างไร?

3. Where 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคซื้อสินค้าของเราจากที่ไหนบ้าง เช่น

– ท่านซื้ออาหารที่ไหนบ้าง?
– ท่านออกกำลังกายที่ไหน?
– ท่านชอบช้อปปิ้งห้างไหน?
– ท่านอยากไปฮันนีมูนที่ไหน?
– ท่านชอบไปเที่ยวประเทศไหน?

4. When 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าส่วนใหญ่ผู้บริโภคจะซื้อสินค้าของเราเมื่อไหร่ เวลาไหน เช่น

– ท่านใช้บริการ FOOD PANDA ในการสั่งซื้ออาหารส่วนใหญ่เวลากี่โมง?
– ท่านซื้อสินค้าออนไลน์เวลาไหน?
– ท่านเข้างานเวลากี่โมง?
– ท่านเลิกงานเวลากี่โมง?
– ท่าน ดู YouTube เวลาไหน?

5. Why 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าทำไมผู้บริโภคถึงตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการ เช่น

– เหตุใดท่านถึงชอบซื้อสินค้าออนไลน์?
– ทำไมท่านถึงเลือกซื้อหมอนยางพารา?
– ทำไมท่านเลือกใช้บริการธนาคารกสิกรไทย?
– ทำไมท่านถึงเลือกให้บุตรหลานเรียนภาษาจีนเพิ่มเติม?
– ทำไมท่านถึงเลือกซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่น LAZADA?

6. Whom 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าใครมีอิทธิพลในการตัดสินใจในการซื้อ ของผู้บริโภคบ้าง เช่น

– ใครที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าของท่าน?
– ใครที่มีอิทธิพลในการตัดสินใจให้ท่านอ่านหนังสือ?
– ใครที่มีอิทธิพลในการทำช่อง YouTube ของท่าน?
– ท่านมีแบบอย่างมาจากใครในการใช้ชีวิต?
– ใครเป็นแรงบันดาลใจในการทำธุรกิจจองท่าน?

7. How 

ข้อคำถามนี้จะตอบได้ว่าผู้บริโภคซื้อสินค้าอย่างไรบ้าง เช่น

– ท่านซื้อสินออนไลน์ผ่านแอพพลิเคชั่นใดบ้าง?
– ส่วนใหญ่ท่านเรียกแท็กซี่ผ่านแอพพลิเคชั่น Grab อย่างไร?
– ท่านซื้ออาหารสุขภาพอย่างไร?
– ท่านเลือกชำระสินค้าอย่างไรในการซื้อสินค้าออนไลน์?
– ก่อนซื้อตั๋วเครื่องบินท่านหาข้อมูลอย่างไรบ้าง

จากข้อคำถาม 6W1H คุณจะรู้ได้เลยว่า ผู้บริโภคคือใคร ซื้อสินค้าอะไรบ้าง ซื้อจากที่ไหนบ้าง ซื้อเมื่อไหร่ ทำไมถึงซื้อ ตัดสิใจซื้อจากใคร และซื้ออย่างไร

ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากในการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ สำหรับผู้ประกอบการทั้งหลายที่จะทราบว่าพฤติกรรมของผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าของท่านมีลักษณะอย่างไร เพื่อที่จะได้ทำการตลาดให้ตอบสนองความพึงพอใจผู้บริโภคให้ได้มากที่สุด 

ดังคำสุภาษิตที่ว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง”

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

ออกแบบแบบสอบถาม_วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss_สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน_เทคนิคการทำงานวิจัย_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส

3 Key Success ในการทำธีสิส (Thesis)

ในการทำ Thesis (ธีสิส)  แต่ละครั้งนั้น ปัญหาที่มักจะเกิดขึ้นกับนักวิจัยมือใหม่ ส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาที่สามารถป้องกันได้

เรียนรู้ 3 key success ที่จะทำให้งานวิจัยของท่านนั้นสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสามารถลดระยะเวลาในการทำงานวิจัย และลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อีกด้วย

1. ต้องมีการอ้างอิงทุกครั้ง

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ในการเขียนงานวิจัยนั้นจำเป็นจะต้องมีการอ้างอิงทุกย่อหน้า หรือมีการอ้างอิงท้ายย่อหน้าแทรกอยู่ภายในเนื้อหาของงานวิจัย และแหล่งอ้างอิงที่นำมาใช้นั้นจะต้องเป็นแหล่งอ้างอิงทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำงานวิจัย เพื่อพัฒนาต่อยอดความรู้ให้สูงขึ้นได้

โดยเฉพาะการทำ Thesis แต่ละครั้งจำเป็นที่จะต้องใช้งานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากต่างประเทศมาเป็นแหล่งข้อมูลสนับสนุนงานวิจัยดังกล่าว เพื่อสะท้อนว่าเนื้อหาของงานวิจัยนั้นผ่านการกลั่นกรอง บูรณาการข้อมูลมาแล้ว ซึ่งเป็นผลดีต่อผู้ที่อ่านงานวิจัยของท่านและการพัฒนาตัวท่านเองอีกด้วย

2. ตัวแปรที่ใช้อ้างอิงควรมีแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ

หลายท่านที่นำข้อมูลในการทำ Thesis มาจากแหล่งข้อมูลที่เป็นเว็บไซต์ทั่วไปซึ่งเป็นข้อมูลที่ทันสมัย แต่มีความเป็นวิชาการน้อย

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

เนื่องจากปัจจุบันสามารถใช้ข้อมูลจากเว็บไซต์ Block หรือ Youtube มาอ้างอิงในการทำงานวิจัย หรือการทำ Thesis  ได้ก็จริง แต่แหล่งข้อมูลต่างๆ เหล่านี้จะมีปัญหาตรงเนื้อหาข้อมูลไม่มีน้ำหนักมากพอในการนำมาใช้อ้างอิงในงาน Thesis หรืองานวิจัยต่างๆ ได้ส่งผลให้ไม่สามารถเชื่อถือข้อมูลงาน Thesis ได้ดังกล่าวได้ 100% 

ฉะนั้นแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือส่วนใหญ่แล้วจะเป็นหน่วยงานที่เป็นองค์กรภาครัฐ หรือหน่วยงานระดับภาคเอกชนที่มีความน่าเชื่อถือในระดับสากลและเป็นที่ยอมรับของสังคม อีกทั้งแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือจำเป็นที่จะต้องมีความชัดเจน หรือผู้มีตำแหน่งที่เกี่ยวข้องทางวิชาการให้การยอมรับ 

3. กลุ่มตัวอย่างต้องให้ความร่วมมือ

กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มที่ให้ข้อมูลสำคัญในการทำ Thesis แต่ละเล่มนั้น จำเป็นที่จะต้องเต็มใจให้ความร่วมมือ ในการตอบแบบสอบถาม หรือตอบแบบสัมภาษณ์ 

ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์__การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_จ้างทําวิจัย ป.ตรี_จ้างทําวิจัย ราคา_จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่_จ้างทําวิทยานิพนธ์ ที่ไหนดี_บริษัทรับทำวิจัย_รับ ทำ วิจัย บริหารธุรกิจ_รับ ทำ วิจัย รัฐศาสตร์_รับ ทำ วิจัย ออนไลน์_รับ ทํา วิจัย ป ตรี_รับ เขียน งาน วิจัย_รับจ้างทํา วิจัยในชั้นเรียน_รับจ้างทําวิจัย 5 บท_รับจ้างทําวิจัย 5 บท ราคา_รับจ้างทําวิจัย ป.โท_รับจ้างทําวิจัย ราคา_รับจ้างทําวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทํา วิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัยการตลาด_รับทํางานวิจัย ด่วน_รับทํางานวิจัย ราคาถูก_รับทําวิจัย ป.ตรี_รับทําวิจัย ป.โท_รับทําสารนิพนธ์_รับทําสารนิพนธ์ ราคา_รับวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา เอก_ราคา รับ ทำ วิทยานิพนธ์ ปริญญา โท_วิจัยการตลาด_หัวข้อวิจัยการตลาด_การวิเคราะห์ข้อมูล_Abtract งานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ซึ่งจะต้องให้ความสำคัญและคำนึงถึงกลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลว่า กลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลเป็นใครนั้น จะทำให้ได้รับความร่วมมือในการเก็บข้อมูลพร้อมกับได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงประเด็น และน่าเชื่อถือ

ดังนั้น 3 Key success ของการทำ Thesis นั้นจำเป็นต้องคำนึงถึง การใช้แหล่งอ้างอิงว่าควรจะใช้ในรูปแบบไหน ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดคือการใช้อ้างอิงทุกย่อหน้า และมีมากกว่า 1 แหล่งอ้างอิงขึ้นไป โดยจะต้องมีแหล่งอ้างอิงที่มาจากต่างประเทศด้วย รวมถึงการได้ข้อมูลมาจากกลุ่มตัวอย่างที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัย และได้รับความร่วมมือจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญนั้นเป็นอย่างดี จึงจะทำให้การทำ Thesis นั้นมีคุณภาพ และถูกต้องตามหลักทางวิชาการ

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
ออกแบบแบบสอบถาม_วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_สถิต t-test_การวิเคราะห์ข้อมูล_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_t - test dependent กับ t - test independent แตกต่างกันอย่างไร_สถิติ t - test แตกต่าง_t - test dependent กับ t - test independent_t - test dependent_t - test independent_โปรแกรม spss_สัญลักษณ์สถิติ_สัญลักษณ์สถิติในเชิงพรรณณา_สัญลักษณ์สถิติในเชิงอนุมาน

เทคนิคการสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที

ในบทความนี้จะเป็นเทคนิค 3 ข้อ การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สำเร็จไวภายใน 30 นาที ทั้งยังสามารถเป็นแนวทางเพื่อพัฒนาการสร้างแบบสอบถามของงานวิจัยสำหรับผู้วิจัยมือใหม่ได้อีกด้วย

1. กำหนดแต่ละส่วนตามตัวแปรที่ใช้ในกรอบแนวคิดการวิจัย

ในงานวิจัยที่เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ส่วนใหญ่แล้วจะต้องมีกรอบแนวคิดการวิจัย ซึ่งจะเป็นตัวกำหนดตัวแปรต้นและตัวแปรตาม เพื่อให้สามารถกำหนดตัวแปรย่อยหรือองค์ประกอบย่อยของแต่ละส่วนงานได้ต่อไป

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้นในการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย โดยเริ่มจากการกำหนดตัวแปรต้น และสร้างข้อคำถามที่เกี่ยวข้องไล่มาตามลำดับของตัวแปรต้น 

เช่น สมมติว่ามีปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติ ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดเป็นตัวแปรต้น ก็จะกำหนดข้อคำถามโดยเริ่มตั้งแต่ปัจจัยส่วนบุคคลไล่ลงมาที่ทัศนคติและปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดตามลำดับ แล้วค่อยกำหนดตัวแปรตามในลำดับถัดมา

2. สังเคราะห์จากนิยามศัพท์

เมื่อสามารถสร้างข้อคำถามในแต่ละส่วนตามกรอบแนวคิดการวิจัยได้แล้ว ควรมีการนำเนื้อหามาเขียนเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ขึ้นมา เนื่องจากว่านิยามศัพท์จะต้องสะท้อนถึงข้อคำถามที่นำมาสังเคราะห์จากตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยได้ด้วย

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ดังนั้น หากท่านสามารถสร้างข้อคำถามที่สอดคล้องกับนิยามศัพท์ได้ โดยตั้งเป็นข้อคำถามในแบบสอบถามงานวิจัยก่อน แล้วจึงนำเนื้อหาจากข้อคำถามของแบบสอบถามนั้นมาเรียบเรียงเป็นนิยามศัพท์ จะทำให้ทั้งสองส่วนนั้นมีความสอดคล้องกันและไม่จำเป็นต้องมาแก้ไขในภายหลัง

3. มีข้อคำถามปลายเปิด

แบบสอบถามที่ดีที่สุดจำเป็นจะต้องมีการเปิดให้เสนอความคิดเห็นที่เกี่ยวกับหัวข้อที่ทำการศึกษาวิจัย เช่น ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อบริการหรือผลิตภัณฑ์นั้น จำเป็นจะต้องมีการเปิดให้กลุ่มตัวอย่างได้เสนอแนะความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับหัวข้องานวิจัยดังกล่าวได้

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

เพื่อที่จะนำข้อคิดเห็นที่สำคัญจากกลุ่มตัวอย่างดังกล่าวนั้นมาเขียนเป็นข้อเสนอแนะ หรือนำมาสรุปเป็นผลการวิจัยที่จะเป็นประโยชน์ต่อการนำเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในครั้งถัดไปได้

ดังนั้นการสร้างแบบสอบถามที่ดีจึงจำเป็นจะต้องสร้างตามกรอบแนวคิดการวิจัย ไล่เรียงตามลำดับตัวแปร และมีองค์ประกอบย่อยที่แสดงผลอย่างชัดเจน 

หากท่านสามารถสร้างแบบสอบถามจากกรอบแนวคิดการวิจัยได้ ก็จะทำให้ท่านได้รับความสะดวกในการเขียนเนื้อหางานวิจัยในส่วนที่เกี่ยวข้อง และสามารถที่จะออกแบบแบบสอบถามโดยสำเร็จได้ในระยะเวลาไม่เกิน 30 นาที เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการทำงานวิจัยในส่วนอื่นๆ ต่อไป

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
แบบสอบถาม_สร้างแบบสอบถาม_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_แบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_รับทำแบบสอบถาม

รับจ้างทําแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูลงานวิจัย

แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีความสำคัญ ในการได้มาซึ่งผลการวิจัย หากข้อคำถามในแบบสอบถามสามารถตั้งคำถามได้ดี ก็จะทำให้คุณสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมหาศาล

ดังนั้นการตั้งคำถามจึงมีความสำคัญมาก หากตั้งคำถามที่ตรงกับลักษณะพฤติกรรม หรือทัศนคติของผู้ตอบ ก็จะทำให้ได้แนวทางในการพัฒนาผลงานวิจัย และนำเอาไปใช้ประโยชน์ได้ดี

โดยเฉพาะแบบสอบถามทางด้านการตลาด เช่น การสอบความเหมาะสมของราคาผลิตัณฑ์ ซึ่งอาจตั้งคำถามว่า

“ท่านคิดว่าราคาที่ท่านจ่าย กับคุณภาพที่ได้รับของสินค้านั้น มีความเหมาะสมหรือไม่” 

เมื่อได้คำตอบ ผู้ประกอบการสามารถนำแนวทางการตอบ ไปเเป็นแนวทางการตั้งราคาที่เหมาะสม ที่ผู้บริโภคยอมจ่ายสินค้านั้นง่ายขึ้นได้  

ในการรับทำแบบสอบถามทางบริษัทฯ ต้องทราบวัตถุประสงค์ของผู้ว่าจ้างก่อนว่าต้องการสร้างแบบสอบถามขึ้นมาเพื่อใช้ในงานใด และกลุ่มตัวอย่างที่จะตอบเป็นกลุ่มใด เพื่อการตั้งคำถามที่นำมาซึ่งคำตอบตามวัตถุประสงค์ 

ดังนั้นบทความนี้คุณจะทราบถึงขั้นตอนการรับจ้างทำแบบสอบถาม ของบริษัทฯ ตามขั้นตอนนี้

1. ผู้รับทำแบบสอบถาม ต้องทราบวัตถุประสงค์ของการวิจัยก่อน

เหตุที่ต้องทราบวัตถุประสงค์ในวิจัยก่อน เพราะวัตถุประสงค์การวิจัย ทำให้รู้ว่าผู้วิจัยต้องการอะไร นอกจากนั้น ยังต้องดูกรอบแนวคิดการวิจัยเทียบด้วยว่า ผู้วิจัยศึกษาทฤษฎีใดมาวิเคราะห์ เพื่อให้ผู้รับสร้างแบบสอบถามงานวิจัย สามารถตั้งคำถามให้ตรงตามแนวทางของกรอบแนวคิดการวิจัยที่ได้สร้างไว้ในการตอบวัตถุประสงค์

ยกตัวอย่าง เช่น วัตถุประสงค์การวิจัย ต้องการศึกษาส่วนประสมทางการตลาดใดบ้าง ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่นของผู้หญิงวัยทำงาน จังหวัดกรุงเทพมหานคร สิ่งที่ผู้รับทำต้องดูคือ ผู้วิจัยใช้แนวคิดอะไรมาสร้างกรอบแนวคิด อาจเป็น แนวคิดส่วนประสมทางการตลาด 4P เมื่อได้แนวทางการสร้างแบบสอบถามผู้รับทำต้องไปศึกษาแนวคิดทฤษฎีดังกล่าวเพิ่มว่า 4P ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง แล้วจะตั้งคำถามอย่างไรเพื่อให้ครอบคลุมแนวคิดทฤษฎีและตอบวัตถุประสงค์ด้วย

2. ตกลงเรื่องราคา

เมื่อผู้รับทำทราบวัตถุประสงค์การวิจัย และตรวจสอบกรอบแนวความคิดแล้ว จะสามารถประเมินราคาการสร้างแบบสอบถามได้

ซึ่งทางบริษัทฯ รับสร้างแบบสอบถามทั้งแบบออฟไลน์ และออนไลน์ โดยมีราคารับสร้างแบบสอบถาม เริ่มต้นอยู่ที่หน้าละ 1,199 บาท ซึ่งถือว่าเป็นราคาที่ถูก ผู้ว่าจ้างทุกท่านสามารถเข้าถึงราคาดังกล่าวได้

ปริญญาตรี

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน1,799 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน1,699 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน1,599 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน1,499 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน1,399 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน1,299 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน1,199 บาท/หน้า

ปริญญาโท

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน1,899 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน1,799 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน1,699 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน1,599 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน1,499 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน1,399 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน1,299 บาท/หน้า

ปริญญาเอก

ระยะเวลาราคา
ภายใน 1 วัน2,999 บาท/หน้า
ภายใน 2 วัน2,899 บาท/หน้า
ภายใน 3 วัน2,799 บาท/หน้า
ภายใน 4 วัน2,699 บาท/หน้า
ภายใน 5 วัน2,599 บาท/หน้า
ภายใน 6 วัน2,499 บาท/หน้า
ภายใน 7 วัน2,399 บาท/หน้า

3. การกำหนดระยะเวลาวันส่งงาน

เมื่อตกลงราคาในการทำงานแล้ว สิ่งสำคัญที่ผู้ว่าจ้าง กับ ผู้รับทำต้องตกลงกัน คือ ระยะเวลาวันส่งงาน ซึ่งผู้รับทำต้องสามารถบอกระยะเวลาวันส่งงานได้ว่า ต้องส่งงานได้วันไหน เวลากี่โมง  เพื่อให้ผู้รับทำเตรียมตัวในกระบวนการต่อไปของงานวิจัย 

เช่น การสร้างแบบสอบถาม ราคาเริ่มต้นหน้าละ 1,199 บาท ทางบริษัทฯ ใช้ระยะเวลาในการทำงาน 7 วัน ในการทำงานทุกครั้ง ทางบริษัทฯ ยึดถือการส่งงานตรงเวลาเป็นอย่างมาก เนื่องจาก การกำหนดเวลาวันส่งงาน แล้วสามารถทำงานได้ตามกำหนด เป็นสิ่งที่ลูกค้ามักบอกต่อเพื่อนหลังการใช้บริการของบริษัทฯ เรา

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
สร้างแบบสอบถาม_การสร้างแบบสอบถาม_ออกแบบแบบสอบถาม_ วิเคราะห์แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_แบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ_ปัญหางานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย

ขั้นตอนวิเคราะห์ SPSS แบบสอบถามที่ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ

ในการวิเคราะห์พฤติกรรมจะมีคำตอบที่มากกว่า 1 ข้อ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ผู้วิจัยจะปิดกั้นการตอบของผู้ตอบแบบสอบถามเพียงข้อเดียว  ดังนั้นเพื่อให้ได้คำตอบที่สมบูรณ์ การสร้างแบบสอบถามจึงควรที่จะต้องสร้างตัวเลือกในการตอบคำถามเพื่อมารองรับคำตอบที่ตอบมากกว่า 1 ข้อด้วย ซึ่งตัวอย่างของข้อคำถามที่ตอบได้มากกว่า 1 ข้อจะมีลักษณะนี้

รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

เมื่อทราบลักษณะของแบบสอบถามที่มากกว่า 1 ข้อแล้ว ในบทความนี้จะบอกถึงขั้นตอนสำหรับการวิเคราะห์แบบสอบถามที่มากกว่า 1 ข้อ ดังนี้

1. เลือกเมนูคำสั่ง Analyze  >>   Multiple Response >>  Define Sets…

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

2. นำชุดของตัวแปรไปที่ Variable  in  Set :

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

3. ที่  Variable are  Coded  As  เลือกคำสั่งดังนี้

▪ Dichotomies สำหรับค่าของตัวแปรเป็นไปได้ 2 ค่า และ Counted Value : คือการกำหนดค่าที่ต้องการนับ

▪ Categories สำหรับตัวแปรแยกประเภท และที่ Range ระบุค่าต่ำสุดและค่าสูงสุด

4. Name และ Label เป็นการตั้งชื่อและรายละเอียดของกลุ่มตัวแปรใหม่

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

5. คลิก Add

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

6. คลิก  Close

7. เลือกเมนูคำสั่ง Analyze >>  Multiple  Response  >>  Frequencies…

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

8. นำตัวแปร Multiple Response  Set  ไว้ที่  Table(s) for:

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

9. ที่ Missing Values สามารถกำหนดไม่ต้องนำค่าสูญหามาคำนวณได้

▪ Exclude  cases list wise within dichotomies สำหรับตัวแปร Multiple Response  Set  ที่เป็นชนิด dichotomy

▪ Exclude case  list wise  within  categories สำหรับตัวแปร Multiple Response  Set  ที่เป็นชนิด categories

10. คลิกปุ่ม OK ถือเป็นอันเสร็จสิ้น

ถึงแม้ว่าแบบสอบถามที่ตอบมากกว่า 1 ข้อ จะทำให้ผู้วิจัยทราบพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามละเอียดขึ้น แต่ข้อคำถามประเภทนี้ก็มีข้อจำกัด ที่ยังเป็นจุดบอดอยู่คือไม่สามารถนำข้อคำถามดังกล่าวมาทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA, Correration หรือ Regression ได้ จึงทำให้ผู้วิจัยไม่สามารถทราบได้เลยว่าพฤติกรรมใดส่งผลต่อตัวแปรตาม นอกเสียจากแปลงให้เป็นข้อคำถามที่ตอบได้ข้อเดียวถึงจะตอบสมมติฐานได้

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)


สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย