คลังเก็บป้ายกำกับ: หัวข้อวิจัย

หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_ งานดุษฎีนิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย

ขั้นตอนในการเขียนวิจัยบทที่ 1

ผู้วิจัยมือใหม่หลายท่านมักจะประสบปัญหาจากการเขียนวิจัยบทที่ 1 เช่น ไม่ทราบว่าจะเขียนความเป็นมา ความสำคัญของปัญหา ตลอดจนเนื้อหา หัวข้อที่เกี่ยวข้อง และกำหนดตัวแปรได้อย่างไร ซึ่งท่านสามารถนำขั้นตอนการเขียนวิจัยบทที่ 1 ดังต่อไปนี้ ไปปรับใช้เพื่อให้การทำงานวิจัยของท่านประสบความสำเร็จและผ่านไปได้โดยง่ายที่สุด

ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

ในการร่างหัวข้องานวิจัยแต่ละครั้งจะมีการตั้งประเด็น ว่าปัญหาในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับประเด็นปัญหาอะไร 

หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_ งานดุษฎีนิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ซึ่งการสืบค้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับประเด็นปัญหาดังกล่าว เพื่อนำมาศึกษาแนวทางเนื้อหาที่งานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังกล่าวได้ทำการกล่าวถึงความเป็นมา และความสำคัญของปัญหาไว้อย่างไรบ้าง ใช้เป็นแนวทางในการวางรูปแบบการเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย

ตลอดจนการศึกษาหัวข้อวิจัยเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์, ขอบเขตของการวิจัย, ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ,  นิยามศัพท์ และกรอบแนวคิดการวิจัย จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเล่มดังกล่าว นำไปประยุกต์ใช้กับงานวิจัยของผู้วิจัยให้มีความเชื่อมโยงกันตลอดทั้งบทได้

ข้อดีของการสืบค้นข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอีกประการหนึ่งก็คือ แหล่งอ้างอิงที่ใช้ในการทำงานวิจัยนั้นมีเพียงพอหรือไม่ อย่างไร ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการเพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับข้อมูลงานวิจัยที่ท่านกำลังจะทำการศึกษา

ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาจากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัย

นอกจาก งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่มีอยู่ในฐานข้อมูลแล้วนั้น ยังมีแหล่งอ้างอิงอื่นๆ ที่สามารถทำการสืบค้นได้ โดยเฉพาะแหล่งอ้างอิงจากการศึกษาจาก สถาบันวิชาการ หรือ ศูนย์การวิจัย ต่างๆ 

เช่น ศูนย์การวิจัยเกสิกรไทย หรือ ศูนย์การวิจัยแห่งชาติ ที่ทำการศึกษาวิจัย วิเคราะห์ภาพรวมของพฤติกรรมผู้บริโภค สภาพสังคม หรือเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง

หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_ งานดุษฎีนิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

รวมถึง แหล่งข่าวออนไลน์ ที่ได้รับความนิยม หรือมีความน่าเชื่อถือในระดับหนึ่ง ก็สามารถที่จะสืบค้นและนำข้อมูลมาทำการเขียนวิจัยบทที่ 1 สำหรับการอ้างอิงในความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาได้ 

ซึ่งจะทำให้ท่านรู้จักการสืบค้นข้อมูลที่ทันสมัย และเป็นปัจจุบัน เนื่องจากการทำงานวิชาการจำเป็นที่จะต้องใช้การเขียนแหล่งข้อมูลที่ทันสมัยอยู่เป็นประจำ และสม่ำเสมอ 

เพราะถ้าหากประเด็นปัญหาที่ท่านทำการวิจัยนั้นล้าสมัยไปแล้ว ท่านสามารถที่จะพลิกแพลงข้อมูลหรือแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทำให้ท่านสามารถวางแผนปรับปรุงเนื้อหาของการเขียนวิจัยบทที่ 1 ของท่านได้อย่างเหมาะสมและชัดเจนมากยิ่งขึ้น

ขั้นตอนที่ 3 นำข้อมูลที่เขียนร่างไว้ไปปรึกษากับอาจารย์

หลายครั้งที่ผู้วิจัยมือใหม่ต้องเขียนโครงร่างงานวิจัยบทที่ 1 แล้วลบทิ้ง ก่อนที่จะทำการเขียนวิจัยบทที่ 1 ขึ้นมาใหม่อีกครั้ง อาจเป็นเพราะว่าท่านมักจะพิจารณาด้วยมุมมองของตนเองว่างานวิจัยของท่านนั้นยังไม่ดีเพียงพอ ซึ่งนั่นเป็นมุมมองเพียงอย่างเดียวที่มองจากฝ่ายของผู้วิจัย

จึงอยากจะเน้นย้ำให้ท่านเข้าใจก่อนว่า การทำงานวิจัยจำเป็นจะต้องประสานงานระหว่างฝ่ายอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยกับฝ่ายผู้วิจัย ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการประสานระหว่างการบูรณาการความรู้ ระหว่างประสบการณ์จากอาจารย์ที่ปรึกษากับประสบการณ์ของผู้ทำวิจัย 

หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_ งานดุษฎีนิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ดังนั้นหากท่านใช้ประสบการณ์ของท่านเพียงอย่างเดียว ก็อาจจะทำให้งานวิจัยของท่านมีข้อบกพร่องที่จะทำการเขียนวิจัยบทที่ 1 ของท่านนั้นไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดได้

ดังนั้นวิธีการแก้ไขที่ดีที่สุดคือท่านจะต้องปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนทุกครั้งที่ท่านเขียนแบบร่างบทที่ 1 ของท่านเสร็จ หรือเมื่อท่านเขียนหัวข้อความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาและหัวข้ออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเสร็จ ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งความคืบหน้าให้อาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณาอย่างต่อเนื่องเป็นประจำและสม่ำเสมอ

และหากอาจารย์ที่ปรึกษามีความคิดเห็นคนละอย่างกับตัวผู้วิจัย ก็อาจจะทำให้ต้องกลับมาเขียนบทที่ 1 ใหม่ตั้งแต่ต้น ดังนั้นจึงควรป้องกันปัญหาดังกล่าวโดยการทยอยเขียนทีละหัวข้อของงานวิจัยบทที่ 1 และส่งความคืบหน้าให้อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำ เพื่อให้ท่านสามารถนำปรับปรุงและเขียนให้สอดคล้องกับคำแนะนำเหล่านั้นได้

ขั้นตอนที่ 4 เขียน เรียบเรียง และนำส่งจากคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย

หลังจากที่ท่านปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยแล้ว ก็ควรจะนำแนะนำดังกล่าวนั้นมาปรับปรุงเนื้อหาคุณภาพงานวิชาการของงานวิจัยบทที่ 1 ที่ท่านเขียน ทั้งในเรื่องของความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ตลอดจนหัวข้อที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_ งานดุษฎีนิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย
รับทำวิจัย แอดไลน์ @impressedu

ซึ่งหากท่านสามารถปรับปรุงจากคำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษาได้ ก็จะส่งผลให้ท่านสามารถพัฒนางานเขียนของท่านได้อย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น และสำเร็จได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้นด้วย

จากคำแนะนำทั้ง 4 ขั้นตอน หากท่านสามารถนำส่วนใดส่วนหนึ่งมาประยุกต์ใช้สำหรับการเขียนวิจัยบทที่ 1 ก็จะทำให้ท่านประสบความสำเร็จไปได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย
หัวข้อวิจัย ผ่านง่าย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_ งานดุษฎีนิพนธ์_จ้างทําวิจัย

5 เทคนิค ตั้งหัวข้อวิจัย ให้ผ่านง่าย

หัวข้อวิจัย เป็นจุดแรกที่ผู้อ่านหรือผู้วิจัยที่ต้องการศึกษาวิจัยมองเป็นอันดับแรก ฉะนั้น ชื่อหัวข้อเรื่องงานวิจัย จึงมีความสำคัญเป็นอันดับแรก

หัวข้อวิจัย จะต้องเป็นชื่อที่มีความชัดเจน อ่านแล้วเข้าใจง่าย และไม่คลุมเครือ เพราะจะต้องเป็นชื่อที่สามารถดึงดูดความสนใจต่อผู้อ่าน หรือผู้วิจัยที่ต้องการทำการศึกษางานวิจัยให้เข้าใจในปัญหางานวิจัย รวมถึงวิธีการดำเนินงานวิจัยเล่มนั้นๆ อีกด้วย 

พบกับ 5 เทคนิค ตั้งหัวข้อวิจัย ให้ผ่านง่าย เป็นเทคนิคที่แนะนำวิธีในการตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัยให้มีความเหมาะสมชัดเจน และมีความน่าในใจ

1. สั้น กระชับ และชัดเจน

ในการหัวข้อวิจัย ควรใช้คำที่มีความเฉพาะเจาะจง สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน และควรใช้ภาษาที่สามารถเข้าใจง่าย กระชับ โดยชื่อหัวข้อไม่ควรสั้นจนทำให้ความหมายทางงานวิชาการขาดหายไป

2. ตรงกับประเด็นของปัญหา

การตั้งหัวข้อวิจัย ควรเป็นหัวข้อเรื่องที่ทำให้ผู้อ่านหรือผู้ที่ศึกษางานวิจัยทราบได้ทันทีว่า งานวิจัยนั้นๆ ทำงานวิจัยเกี่ยวกับเรื่องอะไร มีเป็นประเด็นปัญหาเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การตั้งหัวข้อวิจัย ควรเป็นหัวข้อที่สามารถสื่อความหมายได้ตรงกับประเด็นของปัญหาได้อย่างชัดเจน

3. บ่งบอกถึงประเภทของงานวิจัยได้อย่างชัดเจน

ควรทำการตั้งหัวข้อวิจัยที่สามารถบ่งบอกถึงประเภทของงานวิจัยได้อย่างชัดเจน และเข้าใจง่ายขึ้น ซึ่งสามารถแบ่งประเภทงานวิจัยได้ 5 ประเภท ดังนี้

– งานวิจัยเชิงสำรวจ ส่วนใหญ่จะใช้คำว่า การสำรวจ หรือการศึกษา ไว้ในชื่อหัวข้อวิจัย และอาจจะมีการระบุตัวแปรร่วมด้วย เช่น การสำรวจพื้นที่ทางการเกษตรและที่อยู่อาศัยของผู้ด้อยโอกาสบนพื้นที่ทางภาคเหนือ หรือ การสำรวจพื้นที่ทางการเกษตรและที่อยู่อาศัยของผู้ด้อยโอกาสบนพื้นที่ทางภาคเหนือ เป็นต้น

– งานวิจัยเชิงศึกษาเปรียบเทียบ เป็นชื่อหัวข้อวิจัย ที่ใช้คำในลักษณะ การศึกษาเปรียบเทียบ หรือการเปรียบเทียบ ไว้นำหน้า ที่สามารถสื่อความหมายหัวข้อให้เห็นถึงความแตกต่างได้ เช่น การศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคล ครอบครัว และสังคมของวัยรุ่นที่กระทำผิดครั้งแรก เป็นต้น

– งานวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ สำหรับงานวิจัยประเภทนี้ ส่วนใหญ่จะใช้คำหน้าชื่อหัวข้อเรื่องงานวิจัยว่า การศึกษาความสัมพันธ์ หรือความสัมพันธ์ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรวิทยาลัยเทคนิคกำแพงเพชร เป็นต้น 

– งานวิจัยเชิงการศึกษาพัฒนาการ การตั้งชื่อหัวข้อเรื่องงานวิจัยส่วนใหญ่จะใช้คำว่า การศึกษาพัฒนาการหรือพัฒนาการ ไว้หน้าชื่อหัวข้อวิจัย เช่น การศึกษาพัฒนาการด้านการเรียนรู้เด็กก่อนวัยเรียนในเขตเทศบาลเมืองนครสวรรค์ เป็นค้น

– งานวิจัยเชิงทดลอง สำหรับการตังชื่อหัวข้อเรื่องงานวิจัยในงานวิจัยประเภทนี้ เป็นการตั้งวชื่อหัวข้อที่มีความแตกต่างตามลักษณะของการทดลอง โดยใช้คำว่า การทดลอง การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การศึกษา การเปรียบเทียบ ในการนำหน้าชื่อหัวข้อวิจัย เช่น การทดลองเพาะเห็ดในจังหวัดชัยนาท, การวิเคราะห์หาปริมาณโปรตีนในหน่อไม้, หรือ การเปรียบเทียบการตอบสนองลักษณะทางสรีรวิทยา และองค์ประกอบชีวเคมีน้ำยางของยางพารา เป็นต้น

4. ปรับแต่งให้เข้ากับลักษณะของคำนาม 

นอกจากจะตั้งชื่อหัวข้อวิจัยให้มีความกระชับ ชัดเจน และถูกประเภทงานวิจัยแล้ว ชื่อเรื่องควรมีควรสละสลวยและไพเราะ มีการปรับแต่งโดยใช้ลักษณะของ คำนาม นำหน้า จะทำให้อ่านได้ลื่นไหลกว่าการใช้ คำกริยา นำหน้าชื่อหัวข้อ เช่น จากคำว่า 

ศึกษา ปรับเป็น การศึกษา 
– เปรียบเทียบ ปรับเป็น การเปรียบเทียบ
– สำรวจ ปรับเป็น การสำรวจ เป็นต้น

5. เป็นข้อความเรียงที่สละสลวย มีใจความสมบูรณ์ 

การกำหนดชื่อหัวข้อวิจัย ควรมีเนื้อหาข้อความเรียงที่สละสลวย และมีใจความที่สมบูรณ์ เป็นชื่อที่สามารถระบุได้ชัดเจน ทราบถึงจุดมุ่งหมายของงานวิจัย ตัวแปร และกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษาวิจัยด้วย

เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนการสอบคัดเลือกกับเกรดเฉลี่ยสะสมและเจตคติต่อวิชาชีพครูของนิสิตมหาวิทยาลัยเจ้าพระยานครสวรรค์ ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เพราะ ผู้วิจัยส่วนใหญ่มักจะตั้งชื่อหัวข้อวิจัยสั้นๆ ไม่ได้ระบุรายละเอียดลงไป เช่น ทัศนคติของนักศึกษาครู เป็นต้น

จาก 5 เทคนิค ตั้งหัวข้อวิจัย ให้ผ่านง่าย การตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัยไม่ใช่เพียงแค่ต้องเป็นชื่อหัวข้อให้มีดึงดูดและน่าสนใจเท่านั้น แต่จะต้องเป็นชื่อหัวข้อที่สั้นกระชับ ชัดเจน มีความถูกต้องตรงกับประเด็นของปัญหา สามารถบ่งบอกถึงประเภทของงานวิจัยได้ มีเนื้อหาข้อความเรียงที่สละสลวย และมีใจความที่สมบูรณ์ ทำให้ผู้อ่านหรือผู้ที่ต้องการทำการศึกษางานวิจัยเข้าใจในปัญหางานวิจัย รวมถึงวิธีการดำเนินงานวิจัยได้ทันที

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย