คลังเก็บป้ายกำกับ: วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

“ประชากร” กับ “กลุ่มตัวอย่าง” ต่างกันอย่างไร

ผู้วิจัยหลายท่านกำลังสงสัยว่า “ประชากร” กับ “กลุ่มตัวอย่าง” นั้นต่างกันอย่างไร

ในการทำวิจัย วิทยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ หรือดุษฎีนิพนธ์นั้น ผู้วิจัยจะต้องมีกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาข้อมูลจะนำพามาซึ่งคำตอบของเรื่องที่ผู้วิจัยกำลังศึกษาอยู่

ดังนั้น ในบทความนี้ เราจะมาอธิบายความต่างระหว่าง  “ประชากร” กับ “กลุ่มตัวอย่าง” ให้ฟังในแบบที่เข้าใจง่ายๆ

ประชากร

สำหรับประชากรในงานวิจัยจะหมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตทั้งหมดของเรื่องที่ศึกษา  อาจเป็นสัตว์ หรือคน ก็ได้ เช่น 

– ประชากรเสือในสวนสัตว์เขาเขียว
– ประชากรนักเรียนโรงเรียนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร
– ประชากรที่เข้าใช้บริการห้างเซ็นทรัล เขตบางนา กรุงเทพมหานคร
– ประชากรพนักงานในบริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน)

ซึ่งในงานวิจัยสามารถแยก ประชากร ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ คือ

1. ประชากรที่มีจำนวนจำกัด ประชากรกลุ่มนี้จะมีจำนวนที่แน่นอน เช่น 

– นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย หรือ 
– นักศึกษามหาวิทยาลัยรังสิต 

ซึ่งประชากรกลุ่มนี้จะมีจำนวนที่แน่นอนซึ่งผู้วิจัยสามารถสอบถามสถานที่ ที่จะศึกษาได้เลย หรืออาจมีข้อมูลเผยแพร่ในข้อมูลเว็บไซต์ของโรงเรียนหรือมหาลัยนั้นอยู่แล้ว

2. ประชากรที่ไม่จำกัดจำนวน ประชากรกลุ่มนี้เราจะไม่สามารถทราบจำนวนประชากรที่แน่นอนได้เลยเนื่องจากมีตัวเลขประชากรที่ไม่คงที่ เช่น 

– ประชากรที่เข้าใช้บริการห้างเซ็นทรัล เขตบางนา กรุงเทพมหานคร (ห้างจะมีผู้ใช้บริการเข้าออกตลอดเวลาจนกว่าห้างจะปิด)
– ประชากรพนักงานในบริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน) (พนักงานบริษัทจะมีการย้ายเข้า-ย้ายออกทุกเดือน)

เมื่ออ่านบทความมาถึงจุดตรงนี้แล้ว ผู้วิจัยคงจะทราบแล้วว่าประชากรของท่านคือ กลุ่มใดต่อไปเรามาศึกษากลุ่มตัวอย่างกันค่ะ

กลุ่มตัวอย่าง

กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย คือ กลุ่มประชากรกลุ่มหนึ่งที่ผู้วิจัยสนใจจะศึกษา กลุ่มนั้นจริงๆ 

ยกตัวอย่างเช่น หากกลุ่มประชากรของท่านคือ ผู้ที่สนใจเข้าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยรังสิต ดังนั้นขนาดกลุ่มตัวอย่างของท่าน อาจจะศึกษา กลุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าที่สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับการศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นต้น กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้จึงไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่ชัด (ซึ่งจะอยู่ในประเภทประชากรไม่จำกัดจำนวน) 

หรือ หากกลุ่มประชากรของท่านคือ ประชากรนักเรียนโรงเรียนอนุบาลนครสวรรค์ จำนวน 550 คน ที่เข้าเรียนในปีการศึกษา 2562 ดังนั้นขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการเปิดตารางของ Krejcie & Morgan แล้วจึงได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 226 คน ในการนำไปวิเคราะห์ผล

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า กลุ่มประชากรคือ กลุ่มสมาชิกทั้งหมดที่จะศึกษา เมื่อท่านทราบกลุ่มประชากรที่จะศึกษาแล้ว จึงจะสามารถนำกลุ่มประชากรกลุ่มนั้นมาวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบของการศึกษาทั้งหมดได้ ซึ่งกลุ่มประชากรกลุ่มนั้นเรียกว่า กลุ่มตัวอย่าง หากสงสัยวิธีการคำนวณกลุ่มตัวอย่างโปรดติดตามบทความต่อไป >>> วิธีการกลุ่มตัวอย่าง อย่างละเอียด ที่นี่มีคำตอบ!

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

วิธีติดตั้งโปรแกรม LISREL อย่างละเอียด

โปรแกรม LISREL เป็นโปรแกรมหนึ่งที่นิยมใช้ในดุษฎีนิพนธ์ เพื่อนำมาไว้ใช้สร้างแบบจำลองสมการโครงสร้าง (SEM) ในการหาเส้นทางของคำตอบที่ดีที่สุด หรือสถิติอื่นๆ ดังนั้นหากนักศึกษาปริญญาเอก ที่ต้องการติดตั้งโปรแกรมนี้ไว้ศึกษาสามารถทำตามขั้นตอนที่ทีมงานสถิติแนะนำได้เลยค่ะ

1. เข้าไปในเว็บ http://www.ssicentral.com/ 

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

2. ไปที่แถบเมนู PRODUCTS แล้วเลือก  LISREL

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

3. คลิก Downloads ที่แถบเมนู LISREL MENU

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

4. มีฟรีลายเส้นให้เลือก 2 แบบ

– แบบ Fulloption จะใช้ฟรีได้เพียง 15 วัน สามารถคลิกไปที่  LISRELTrialLicense.xls ตัวอักษรสีฟ้า ดังรูป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

หลังจาก 15 วัน หากโหลด แบบ Fulloption ต้องเสียเงินในการซื้อลายเส้น 625$ (ประมาณ 20,xxx บาท) หากต้องการเช่า หรืออัปเดตเวอร์ชั่นมีราคาดังรูป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

– แบบ Student จะใช้ได้ฟรีตลอด เพื่อการศึกษาผู้วิจัยสามารถโหลดแบบนี้ได้เลยไม่เสียเงิน สามารถคลิกไปที่   LISREL10StudentSetup.exe ตัวอักษรสีฟ้า ดังรูป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

แต่ของฟรีก็ย่อมมีข้อจำกัดดังนี้

– สามารถการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติขั้นพื้นฐานและการจัดการข้อมูลถูก จำกัด ไว้ที่ตัวแปรสูงสุด 20 ตัว
– การสร้างแบบจำลองสมการโครงสร้างถูก จำกัด ไว้ที่ตัวแปรที่สังเกตได้สูงสุด 16 ตัว
-การสร้างแบบจำลองหลายระดับถูกจำกัด ไว้ที่ตัวแปรสูงสุด 15 ตัว
– การสร้างแบบจำลองเชิงเส้นทั่วไปถูกจำกัด ไว้ที่ตัวแปรสูงสุด 20 ตัว
– ตัวเลือกส่งออกข้อมูลบนเมนูไฟล์ถูกจำกัด ไว้ที่ ASCII ไฟล์ที่คั่นด้วยแท็บและคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค
– สามารถนำเข้าไฟล์ข้อมูล ASCII, tab-delimited และ comma-delimited ได้โดยใช้ตัวเลือก Import Data

5. ในบทความนี้เราจะแนะนำให้โหลดแบบ Student มาใช้

พอคลิกไปที่   LISREL10StudentSetup.exe ตัวอักษรสีฟ้า ตามขั้นตอนที่ 4 จะขึ้นหน้าต่างดังรูป ให้คลิกไฟล์เพื่อดาวน์โหลดได้เลย

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

6. รอให้ไฟล์โหลดเสร็จ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

7. ดับเบิ้ลคลิกไฟล์ LISREL ขึ้นมา

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

8. กดปุ่ม Next เรื่อยๆ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

9. กดปุ่ม Finish เป็นอันเสร็จสิ้น

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL

เป็นอย่างไรกันบ้างคะโหลดโปรแกรม LISREL เสร็จแล้ว ในเวอร์ชั่น LISREL 10 ซึ่งเวอร์ชั่นนี้เป็นเวอร์ชั่นล่าสุดเลยค่ะ มีฟังก์ชั่นใหม่ให้ผู้วิจัยได้เรียนรู้อีกเพียบไว้จะมาอธิบายเพิ่มเติมให้นะคะ

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ_อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย

เคล็ดลับคุยงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างไรให้ลงตัว

สําหรับบทความนี้ ทางเราจะมาเปิดเผย “เคล็ดลับสําหรับการคุยงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย” ว่าจะคุยอย่างไร เพื่อให้สามารถทำวิจัยจบไปได้โดยเร็วที่สุด

พบกับ 3 เคล็ดลับง่ายๆ ที่จะทําให้งานวิจัยสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

เคล็ดลับที่ 1: หาสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยสนใจ

สำหรับเคล็ดลับแรก คือ หาสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยสนใจ เพื่อให้ท่านแนะนำในการทำงานวิจัยที่อาจารย์ท่านมีความถนัด และให้คำแนะนำได้อย่างสะดวก และง่ายต่อการดำเนินงานวิจัยของผู้วิจัยด้วย

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ_อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย

เพราะการทําสิ่งที่อาจารย์ที่ปรึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และดําเนินการให้คําปรึกษาได้โดยสะดวก ได้ง่ายกว่าทําตามสิ่งที่ผู้วิจัยสนใจ

ดังนั้น การทําตามคําแนะนำเพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาได้ให้คําแนะนําได้อย่างลงตัว และสามารถที่จะดําเนินการแก้ปัญหาการวิจัยไปได้โดยสะดวกราบรื่น

เคล็ดลับที่ 2: หางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่สนับสนุนความถนัดของอาจารย์ที่ปรึกษาได้

งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง คือ ผลงานวิจัยที่มีการศึกษาค้นคว้าสำเร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งตรงกับความสนใจ หรืออยู่ในความถนัดของอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ที่จะให้คําแนะนํากับผู้วิจัยมือใหม่ทุกท่านได้

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ_อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย

เนื่องจาก อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยแต่ละท่านมีความถนัดที่ต่างกัน จึงจําเป็นที่จะต้องนําคําแนะนําจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย พร้อมทั้งนํามาศึกษาหางานวิจัยที่อ้างอิงที่มีการศึกษาสําเร็จลุล่วงไปแล้ว นํามาค้นคว้าต่อยอดจากงานวิจัยดังกล่าว ในการนํามาประยุกต์ใช้เป็นงานวิจัยของตนเอง จะทําให้ผู้วิจัยมือใหม่ทุกท่านสามารถที่จะทํางานวิจัยสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

เคล็ดลับที่ 3: “งานวิจัยที่รุ่นพี่ หรือเพื่อนที่อาจารย์ที่ปรึกษาจัยท่านนี้ให้คําแนะนําสําเร็จลุล่วงไปแล้ว”

สอบถามจากผู้วิจัยท่านอื่น รุ่นพี่  หรือเพื่อนที่ได้ทำงานวิจัยร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยท่านนี้เป็นผู้แนะนํา ให้คำปรึกษาสำเร็จเรียบร้อยแล้ว 

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ_อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย

โดยขอศึกษาจากเนื้อหางาน วิธีการดำเนินงานวิจัย ตารางการเข้าติดต่อพบกับอาจารย์ที่ปรึกษา จากรุ่นพี่ หรือเพื่อนที่ได้เคยร่วมงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยท่านนี้

จะทำให้ทราบแนวทางการดําเนินงานอย่างไร และควรวางแผนรับมือคุยงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาอย่างไร เพื่อที่จะประสานงานระหว่างผู้วิจัยมือใหม่กับอาจารย์ที่ปรึกษาให้ลงตัวมากที่สุด

ดังนั้น 3 เคล็ดลับสําหรับการคุยงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย จึงจําเป็นที่จะต้องยึดตัวอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นหลัก แล้วค่อยปรับจูนประสานงานกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย โดยที่ทั้งสองฝ่ายต่างคนต่างถอยคนละก้าว เพื่อให้งานสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ

หลักการเขียนบทความวิชาการ

หลายท่านที่เป็นนักวิจัยมือใหม่ที่จำเป็นที่จะต้องเขียนบทความวิชาการเพื่อนำเสนอส่งตีพิมพ์ให้กับวารสารทางวิชาการต่างๆ นั้นประสบปัญหาในการที่จะเขียนอ้างอิงอย่างถูกต้อง เพราะไม่รู้ว่าจะต้องเขียนในรูปแบบใด

การเขียนอ้างอิงบทความวิชาการในปัจจุบันนั้น มีรูปแบบที่แตกต่างกันไปตามข้อกำหนดของแต่ละสถาบันหรือแต่สำนักวารสารนั้น การที่จะเขียนอ้างอิงบทความเชิงวิชาการให้ถูกต้อง 

สิ่งแรกที่ท่านต้องคำนึงถึงก่อนคือ สถานที่ตีพิมพ์ แหล่งตีพิมพ์กับวารสารแห่งใด ซึ่งจะทำให้ท่านทราบว่าข้อกำหนดของการจัดพิมพ์ที่ถูกต้องนั้นควรจะจัดพิมพ์ในรูปแบบใด และต่อไปนี้คือ 3 เทคนิคในการเขียนอ้างอิงอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

1. เขียนอ้างอิงโดยใช้ปีที่อัปเดต

ไม่ว่าท่านจะเขียนอ้างอิงในรูปแบบใด หลักการที่สั้นและกระชับที่สุดและเป็นเทคนิคที่นักวิจัยส่วนใหญ่เลือกใช้คือปีที่นำมาเขียนอ้างอิงของแหล่งอ้างอิงดังกล่าวจะต้องเป็นปีที่ใหม่ที่สุด ส่วนใหญ่แล้วหลักการเขียนอ้างอิงบทความวิชาการที่ถูกต้อง คือ ปี พ.ศ. ที่ใช้แหล่งอ้างอิงที่มีเนื้อหาที่ทันสมัยที่สุด มาใช้ในการสนับสนุนแนวคิด ทฤษฎีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในงานวิจัยที่เราทำการศึกษา

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ฉะนั้น แหล่การสืบค้นข้อมูลงที่ใช้ในการอ้างอิงผลงานวิจัย จะต้องมีเนื้อหางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือแหล่งข้อมูลออนไลน์ในการศึกษาที่ทันสมัย และมีความเป็นปัจจุบัน อาทิเช่น ศูนย์องค์กรวิจัยของภาครัฐ หรือภาคเอกชนต่างๆ และจำเป็นที่จะต้องคำนึงรูปแบบที่ใช้ในการอ้างอิงของแหล่งที่จะส่งตีพิมพ์ได้

2. เขียนอ้างอิงตามรูปแบบที่แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่นั้นกำหนดไว้

หลายครั้งที่นักวิจัยมือใหม่ไม่สามารถเขียนอ้างอิงได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากว่าไม่รู้มาก่อนว่าจะต้องมีการอ้างอิงข้อมูลจากทางวารสารวิชาการ ซึ่งวารสารวิชาการที่เป็นรายเดือนหรือรายปีก็จะมีข้อกำหนดในการที่จะจัดพิมพ์ที่แตกต่างกันไป 

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ดังนั้น ก่อนที่ท่านจะทำการส่งตีพิมพ์ ท่านจึงจำเป็นที่จะต้องทำการศึกษาข้อมูลการตีพิมพ์ของแหล่งตีพิมพ์นั้นก่อน เพื่อที่จะจัดพิมพ์แหล่งอ้างอิงตามที่ทางวารสารกำหนดได้อย่างถูกต้อง

3. อย่าลืมบันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิง

การเขียนผลงานทางวิชาการ ไม่ว่าจะเป็นบทความวิชาการ ผลงานวิจัย บทความวิจัย หรือเอกสารทางวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องนั้น การบันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิงยังคงเป็นสิ่งที่สำคัญอยู่เสมอ เนื่องจากการส่งตีพิมพ์นั้นจะมีคณะกรรมการที่คอยทำการตรวจสอบเนื้อหาของท่านเพื่อการอนุมัติการส่งตีพิมพ์ผลงานดังกล่าว

หลายครั้งที่นักวิจัยมือใหม่ไม่รู้ว่าการเขียนผลงานวิชาการนั้น จำเป็นที่จะต้องบันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิงไว้ทุกครั้ง เพราะในการตรวจสอบเนื้อหาจากคณะกรรมการนั้นจะมีการเรียกขอตรวจสอบแหล่งอ้างอิงหรือเรียกดูแหล่งข้อมูลที่ท่านนำมาด้วย เพื่อตรวจสอบให้แน่ใจว่าแหล่งอ้างอิงที่ท่านใช้ในเนื้อหางานวิชาการของท่านนั้นถูกต้องและชัดเจนเพียงพอ

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_บทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการ
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

แต่หากท่านไม่ได้บันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิงเอาไว้ ก็จะไม่สามารถยืนยันหรือเน้นย้ำได้ว่าผลของการวิจัยครั้งดังกล่าวนี้สอดคล้องกับงานวิจัยหรือสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีใดอย่างไรบ้าง

ซึ่งอาจจะทำให้ท่านต้องพบกับปัญหาในการหาแหล่งอ้างอิงใหม่เพื่อนำมาเชื่อมโยงหรือสอดคล้องกับผลลัพธ์งานวิจัยของท่านอีกครั้ง

จะเห็นได้ว่าการเขียนแหล่งอ้างอิงที่ถูกต้องในบทความวิชาการนั้นจำเป็นต้องฝึกฝนและพัฒนาอยู่เสมอ โดยเฉพาะการเขียนแหล่งอ้างอิงที่มีความซับซ้อนและมีรายละเอียดสูง ยิ่งจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพราะความรู้ความสามารถในการเขียนอ้างอิงถือว่าเป็นสิ่งหนึ่งที่ท่านต้องฝึกฝนและพัฒนาให้เกิดขึ้นเพื่อยกระดับผลงานวิชาการของท่านให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล

การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ

เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วสำหรับนักวิจัยว่าการวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพนั้น จำเป็นจะต้องใช้เวลาเป็นอย่างมากในการอ่านรวบรวมและเรียบเรียง เพื่อที่จะวิเคราะห์เนื้อหานั้นออกมาทำการสรุปสังเคราะห์ข้อมูลและนำเสนอให้กับคณะกรรมการตรวจสอบ 

และในบทความนี้จะกล่าวถึง เคล็ดลับที่จะช่วยในการประหยัดระยะเวลาในการวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพอย่างมีแนวคิดกระบวนการทำงานที่ถูกต้อง

1. จัดหมวดหมู่ของข้อมูลจำแนกเป็นรายด้านหรือรายปัจจัย

การจัดหมวดหมู่ของข้อมูลจำแนกเป็นรายด้านหรือรายปัจจัยเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการที่จะทำงานวิจัยเชิงคุณภาพให้ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะงานวิจัยเชิงคุณภาพที่มีการใช้แบบสัมภาษณ์ หรือใช้การสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการวิจัย และเมื่อได้ข้อมูลเหล่านั้นมาแล้ว ก็จะมีการถอดความหรือถอดเทปจากการสัมภาษณ์อีกครั้ง

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

การถอดเทปหรือการถอดแบบสัมภาษณ์ที่ดีนั้นต้องมีการจัดหมวดหมู่ของข้อคำถามเอาไว้ และนำคำตอบที่ได้จากแบบสัมภาษณ์เหล่านั้นมาไว้ในข้อคำถามหรือหมวดหมู่เดียวกัน

จากนั้นเรียงลำดับรหัสข้อมูลตามเลขบุคคลที่ให้สัมภาษณ์ลำดับก่อนหลัง เพื่อที่จะสามารถเรียงลำดับข้อมูลการให้สัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญเหล่านี้ได้อย่างเป็นระบบ และสามารถนำมาใช้ได้อย่างรวดเร็ว

2. วิเคราะห์บทสัมภาษณ์จำแนกเป็นรายกลุ่ม

การสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการวิจัย บางครั้งนั้นจะอาศัยการสัมภาษณ์จากกลุ่มผู้นำชุมชนหรือกลุ่มตัวแทนภาครัฐ กลุ่มตัวแทนภาคเอกชน หรือกลุ่มอื่นๆ ที่มีตัวแทนอยู่ในกลุ่มแวดวงเดียวกัน

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

การที่จะจำแนกกลุ่มต่างๆ นั้น ท่านต้องทำการกำหนดรหัสของกลุ่มข้อมูลเอาไว้ และนำข้อมูลการให้สัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญมาถอดเทปหรือถอดแบบสัมภาษณ์จำแนกออกมาแยกแยะได้เป็นรายกลุ่ม เพื่อที่จะสามารถรวมกลุ่มข้อมูลในกลุ่มเดียวกันเอาไว้ใช้ในการวิเคราะห์บทสัมภาษณ์ต่อไปได้อย่างสะดวกรวดเร็ว

3. สังเคราะห์และสรุปให้เป็นวิชาการพร้อมยกตัวอย่างบทสัมภาษณ์

หลังจากที่ท่านถอดเทปแบบสัมภาษณ์ของผู้ให้ข้อมูลสำคัญเรียบร้อยแล้ว ท่านต้องนำข้อมูลสำคัญเหล่านั้นมาสังเคราะห์เรียบเรียงให้เป็นภาษาวิชาการ โดยการจับประเด็นหลักจากข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ตีความเพื่อให้เชื่อมโยงกับแนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลที่ได้มาเหล่านั้น รวมทั้งทำการสรุปแบบสัมภาษณ์ออกมาเป็นภาพรวมทั้งหมดจากข้อคำถามเดียวกัน

วิจัยเชิงคุณภาพ_งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การวิเคราะห์สถิติ_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

เมื่อทำการสรุปสังเคราะห์ข้อมูลครั้งสุดท้ายแล้ว ภาพรวมที่ออกมาจะต้องสามารถมองเห็นได้ว่ากลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญเหล่านี้ให้สัมภาษณ์ในทิศทางไหน และมีความสอดคล้องกันอย่างไรบ้าง เพื่อที่จะนำไปสังเคราะห์ประเด็นสำคัญออกมาเป็นผลการวิจัยหลักของงานวิจัยเชิงคุณภาพชิ้นดังกล่าวได้

ดังนั้นการที่จะทำให้งานวิจัยเชิงคุณภาพสำเร็จลุล่วงไปได้ ท่านจำเป็นที่จะต้องเรียงลำดับข้อมูลที่วิเคราะห์ออกมา มีการจัดหมวดหมู่ พร้อมทั้งจัดกลุ่มเรียบเรียงนำเสนอเป็นภาษาวิชาการ เพื่อที่จะนำเสนอข้อมูลสำคัญดังกล่าวได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมต่อไป

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss

จะรู้ได้อย่างไรว่าเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยมีคุณภาพ

ในกระบวนการสร้างเครื่องมือ (แบบสอบถาม) ขึ้นมาเพื่อใช้ในงานวิจัยนั้น ทางบริษัทฯ เราทราบดีว่า ผู้วิจัยหลายท่านยังไม่เข้าใจในเรื่องการทดสอบได้ดีมากนัก เนื่องจากมีผู้ทำวิจัยหลายท่านเข้ามาสอบถามกระบวนการดังกล่าวกับบริษัทมากมาย 

บทความนี้สามารถจะอธิบายถึงกระบวนการทดสอบว่าเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยของท่านมีคุณภาพตามมาตรฐานกำหนดหรือไม่

ในการทดสอบคุณภาพของแบบสอบถามนั้น ผู้วิจัยจะต้องนำแบบสอบถามที่จะใช้ทดสอบไปหาความเที่ยงตรง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) 

ซึ่ง การหาความเที่ยงตรง (Validity) ผู้วิจัยจะต้องนำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปเสนอต่อผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) ผ่านกระบวนการตรวจสอบจาก IOC (Item-Objective Congruence Index)  ของคำถามในแต่ละข้อว่าตรงตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาครั้งนี้หรือไม่ ตามภาพ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss

หลังจากนั้นก็นำแบบสอบถามมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อดำเนินการในขั้นตอนต่อไป สำหรับการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ผู้วิจัยจะต้องหาความเชื่อมั่นโดยนำแบบสอบถามไปทดสอบกับกลุ่มประชากรที่มีลักษณะใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา จำนวนประมาณ 30-40 คน แล้วนำมาทดสอบหาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 

โดยใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ  โดยค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามที่ทดสอบจะต้องได้มากกว่าหรือเท่ากับ 0.70 ถึงจะถือว่า แบบสอบถามนั้นนำไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างได้จริง หากไม่ถึงเกณฑ์จะต้องปรับข้อคำถามใหม่ หลังจากนั้นจึงนำไปให้กลุ่มตัวอย่างตอบคำถาม ตามภาพ

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss

ขบวนการดังกล่าวจะอยู่ในบทที่ 3 ในหัวข้อการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมืองานวิจัยหากท่านทำกระบวนการนี้ไม่ผ่านสักที บริษัทเรามีเคล็บลับในการทำสิ่งนี้ให้ผ่านภายในเวลาอันรวดเร็ว โดยที่ท่านสามารถรอได้เลย สามารถติดต่อบริษัทได้ทางช่องทางที่ให้ไว้

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

4 ขั้นตอนง่ายๆ ในการวิเคราะห์สถิติ

ผู้วิจัยมือใหม่ที่ทำงานวิจัยเกี่ยวกับเชิงปริมาณ จำเป็นจะต้องทำการวิเคราะห์สถิติจากข้อมูลแบบสอบถาม โดยใช้โปรแกรมสถิติเพื่อทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่จะใช้ในการวิจัยและทดสอบสมมติฐานการวิจัย

ซึ่งหลายท่านมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับสถิติที่จะใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสถิติไม่เท่ากัน ดังนั้นการที่ใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างถูกต้องนั้นควรเริ่มต้นอย่างไร เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดได้โดยง่าย

1. ศึกษาตัวอย่างการวิเคราะห์สถิติที่ใช้จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

การศึกษาสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จะทำให้ท่านทราบว่างานวิจัยที่ใกล้เคียงกับหัวข้อที่ท่านทำการศึกษาอยู่นั้นใช้สถิติใดในการวิเคราะห์ และใช้โปรแกรมใดในการวิเคราะห์สถิติ 

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

หากสามารถหาตัวแปรหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่ทำการศึกษาได้ ว่างานวิจัยเล่มดังกล่าวนั้นใช้สถิติในการวิเคราะห์ประเภทใด จะทำให้ทราบแนวทางของการใช้สถิติ เพื่อนำมากำหนดสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลของเล่มงานวิจัยของท่านได้

2. ศึกษาคลิปวีดีโอสอนทำจาก YouTube 

หลังจากทำการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องในการศึกษาแนวทางหรือรูปแบบการใช้สถิติในการวิจัยแล้ว ขั้นตอนต่อไปควรจะต้องกำหนดสถิติใดในที่จะใช้ในการวิเคราะห์หรือทดสอบสมมติฐานการวิจัยสำหรับตัวแปรที่ท่านทำการศึกษาอยู่

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ท่านสามารถพิมพ์ชื่อสถิติดังกล่าวใน YouTube เพื่อค้นหารูปแบบวิธีการทำ เรียนรู้และพัฒนาให้ตนเองดำเนินการวิเคราะห์ได้ตามตัวอย่างที่ทำการศึกษา ซึ่งจะทำให้ท่านป้องกันข้อผิดพลาดในการวิเคราะห์ข้อมูลได้

3. ฝึกฝนทดลองทำ

ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนต่อเนื่องหลังจากการเรียนรู้จาก YouTube ว่ามีกระบวนการเบื้องต้นอย่างไร ต้องใช้สถิติใดในการทดสอบตัวแปรไหนจากเล่มงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้ว การทดลองทำจะทำให้ท่านทราบว่าเป็นไปได้หรือไม่

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

ในการทดสอบตัวแปรด้วยสถิติที่ทำการศึกษาค้นคว้ามา จะทำให้ท่านทราบว่าการทดสอบที่ทำไปนั้นเกิดจุดบกพร่องขึ้นในกระบวนการหรือขั้นตอนใด เพื่อให้ท่านสามารถค้นหาแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขให้สามารถรันผลสถิติที่ใช้ในการวิจัยได้อย่างตลอดรอดฝั่ง ซึ่งจะเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์เพื่อให้ท่านมีความเชี่ยวชาญในการทดสอบตัวแปรหรือวิเคราะห์ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยมากขึ้น

4. ให้อาจารย์ที่ปรึกษาช่วยตรวจสอบและปรับปรุง

เนื่องจากผู้วิจัยมือใหม่หลายท่านไม่มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติที่ใช้ในการวิจัย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยตรวจสอบและให้คำแนะนำ ท่านจึงจะทราบแนวทางว่าสถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์นั้นถูกต้องหรือไม่ หรือควรแก้ไขปรับปรุงอย่างไร

วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม
อ้างอิงจาก : www.unsplash.com

การที่อาจารย์ที่ปรึกษาให้คำแนะนำให้แนวทางแก้ไขจะเป็นประโยชน์ต่อท่านในการที่จะเพิ่มพูนความรู้ที่จะใช้ในการวิเคราะห์สถิติที่ใช้ในการวิจัยให้มากยิ่งขึ้น

หากท่านทราบขั้นตอนที่กล่าวไปทั้งหมดแล้วนั้น ท่านจะทราบว่ากระบวนการทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ท่านสามารถทำการเรียนรู้ได้ ดังนั้นหากท่านเป็นมือใหม่ด้านการวิจัยและไม่รู้ว่าจะทำการศึกษาวิจัยด้วยสถิติใด การประยุกต์ใช้ขั้นตอนทั้งหมดที่ได้กล่าวมากับงานวิจัยของท่านก็จะทำให้งานวิจัยของท่านนั้นสำเร็จไปได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

เหตุผลอะไร ที่คนส่วนใหญ่จึงไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS เป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยความเข้าใจในสถิติพื้นฐาน โดยผู้ที่ใช้โปรแกรม SPSS เป็น ต้องรู้จักและเข้าใจการวิเคราะห์สถิติเบื้องต้นเป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย 

ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด และค่าสูงสุด เพราะว่าค่าสถิติพื้นฐานจะเป็นการวิเคราะห์เริ่มต้น ที่นำไปสู่การทดสอบสมมติฐาน ตามที่วัตถุประสงค์การวิจัยได้ตั้งไว้

แต่สถิติ ไม่ใช่เรื่องที่ทุกคนจะเข้าใจ ซึ่งแน่นอนที่คุณจะต้องเจอกับตัวเลข เป็นจำนวนมาก หากบางคนไม่มีพื้นฐานทางด้านสถิติ จะทำให้เกิดการเบื่อหน่าย ปวดหัว และมึนงง เนื่องจากตัวเลขดังกล่าวไม่สามารถดูแล้วเข้าใจได้โดยทันที  ดังที่มาร์ยัม เมอร์ซาคานี กล่าวไว้ว่า คณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่องสำหรับทุกคน

ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่คนส่วนใหญ่ไม่อยากจะเสียเวลาเข้าใจโปรแกรม SPSS  บทความนี้จึงจะนำพาคุณมาวิเคราะห์ถึง 3 เหตุผลที่คนส่วนใหญ่ไม่เสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง เพื่อประมวลผลการวิจัยเองดังนี้

1. ไม่อยากทำความเข้าใจเกี่ยวเรื่องสถิติ

การวิเคราะห์สถิติ หรือการวิเคราะห์ SPSS สำหรับงานวิจัย สามารถแยกย่อยออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 

ประเภทที่ 1 สถิติเชิงพรรณา คือ ค่าสถิติพื้นฐานที่ใช้กับข้อมูลง่ายๆ มีวิธีการที่ไม่ยุ่งยาก ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงมาฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม เป็นต้น

ประเภทที่ 2 สถิติเชิงอนุมาน คือ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน โดยต้องใช้พื้นฐานของสถิติเชิงพรรณามาช่วยในการค้นหาคำตอบข้อเท็จจริงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้แก่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One Way ANOVA) การวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi-Square) การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Regression)

แค่ทั้ง 2 ประเภทใหญ่ที่กล่าวมาข้างต้นนี้ก็ยากต่อการเข้าใจแล้ว แต่ที่ยากไปกว่านั้นคือการเลือกใช้สถิติแต่ละตัว ซึ่งผู้วิจัยต้องดูประเภทข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัวด้วยว่า ตัวแปรไหนสามารถนำมาทดสอบสมมติฐานได้บ้าง ซึ่งจะกล่าวในหัวข้อต่อไป

2. เลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์ไม่ตรงกับประเภทข้อมูล

คงเป็นเรื่องยาก ที่คุณต้องมานั่งศึกษาใหม่ว่าข้อมูลประเภทไหน สามารถนำไปทดสอบประเภทไหนได้บ้าง ถ้าเปรียบก็คงเหมือนการไปเริ่มเรียน ก-ฮ ใหม่ เพราะว่านอกจากภาระหน้าที่การงานที่ต้องรับผิดชอบแล้ว เรื่องที่ทำให้ปวดหัวอีกเรื่องหนึ่งก็คือ การวิเคราะห์สถิติ 

เพราะ การวิเคราะห์สถิติ นั้นในข้อมูลแต่ละประเภทจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างกันออกไป หากเลือกประเภทข้อมูลในการนำมาวิเคราะห์สถิติผิด โปรแกรมก็จะไม่แสดงผล หรือแสดงผล Error ออกมา ทำให้ผู้วิจัยไม่รู้จะสอบถามใคร ไปต่อไม่ได้

หากผู้วิจัยคนไหนต้องการจะวิเคราะห์ SPSS แปลผลข้อมูลเอง อันดับแรกควรจะทำการศึกษาประเภทของข้อมูลก่อนว่า ข้อมูลแต่ละประเภทเป็นอย่างไร และข้อมูลประเภทไหนใช้กับสถิติอะไรได้บ้าง 

3. ไม่เข้าใจการทดสอบสมมติฐาน

จากการที่ไม่เข้าใจการเลือกสถิติที่นำมาวิเคราะห์กับประเภทข้อมูลแต่ละประเภท ทำให้ผลโปรแกรมวิเคราะห์ SPSS ออกมา  Error คนส่วนใหญ่จึงไม่รู้จะทำอะไรต่อ และไม่รู้จะแก้ไขอย่างไร ส่งผลให้ทดสอบสมมติฐานไม่ได้ด้วยเช่นกัน 

ยกตัวอย่าง สถานการณ์ที่เจอปัญหา ดังเช่น ข้อคำตอบไหนที่มีกลุ่มตัวอย่างตอบเพียงคนเดียว ผลการทดสอบสมมติฐาน One Way ANOVA จะออกมา Error ดูจากรูปจะพบว่า มีกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุ 50 ปีขั้นไป เพียงแค่ 1 ท่าน ที่มีการตัดสินใจเล่นกีฬา เมื่อนำมาวิเคราะห์ One Way ANOVA ผลตารางของ Post hoc จะไม่ออก 

ดังนั้นถ้าผลออกมาว่าอายุเป็นตัวแปรที่ส่งผลทำให้กลุ่มตัวอย่างตัดสินใจเล่นกีฬา จะไม่สามารถตอบได้ว่ากลุ่มอายุไหนบ้างที่ตัดสินใจเล่นกีฬา แล้วกลุ่มตัวอย่างช่วงอายุไหนเล่นกีฬาอะไรบ้าง 

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

จาก 3 เหตุผลดังกล่าวก็ทำให้หลายท่านตอบคำถามตัวเองได้แล้วว่า เราควรเสียเวลานั่งวิเคราะห์ SPSS เอง หรือไม่ หากเจอปัญหา ผลโปรแกรม Error จะแก้ไขปัญหาเองได้หรือไม่ เมื่อได้คำตอบนั้นแล้วลองปรึกษาบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านสถิติ เพื่อขอคำแนะนำและทำให้การทำงานวิจัยของคุณให้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_ One Way ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัย ไม่ยากอย่างที่คิด!

แบบสอบถามงานวิจัย เป็นเครื่องมือการวิจัยอย่างหนึ่ง ที่ประกอบไปด้วยชุดคำถาม ที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริง ความคิดเห็น ความรู้สึก ความเชื่อ และความสนใจต่างๆ ที่เตรียมไว้สำหรับให้ผู้ตอบแบบสอบถามได้เลือกตอบหรือเติมคำ เพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการวิจัย 

ซึ่งการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยนั้น ข้อคำถามจะถูกสร้างขึ้นจากกรอบแนวความคิดทฤษฎีของตัวแปรที่ต้องการศึกษา หรือต้องการวัด ซึ่งข้อคำถามที่ใช้ถาม ต้องมีเหมาะสมกับประเด็นที่จะวัด โดยจะมีหลักการในการสร้างเพื่อตามขั้นตอนดังนี้

1. พิจารณาหัวข้อปัญหาและวัตถุประสงค์

ในปัจจุบันพบว่า มีหลายงานวิจัยที่ไม่สามารถเลือกใช้แบบสอบถามได้อย่างเหมาะสมกับงานวิจัยของตนเองได้ เนื่องจากตั้งคำถามไม่ตรงกับลักษณะ หรือพฤติกรรม ของผู้ตอบแบบสอบถามจึงทำให้ ผลการวิจัยที่ออกมาไม่ตอบกับวัตถุประสงค์การวิจัยที่ตั้งไว้ ดังนั้นการทราบปัญหาการวิจัย และการกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยที่ชัดเจน ถือเป็นเข็มทิศในการเดินทาง ที่จะทำให้ทราบจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบสอบถามงานวิจัยเลยทีเดียว 

ก่อนอื่นคุณต้องทราบปัญหาของงานวิจัยก่อน ว่างานวิจัยที่ทำอยู่นั้นมีปัญหาอะไร? 

ตัวอย่างเช่น บริษัทหนึ่งพนักงานไม่มีแรงจูงใจในการทำงาน พนักงานจึงมีการขาด ลา และมาสาย อยู่เป็นประจำ ทำให้งานไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จากปัญหาดังกล่าวอาจเป็นเพราะปัจจัยต่างๆ เช่น พนักงานรู้สึกว่าตนเองได้รับค่าจ้างที่ไม่คุ้มค่ากับงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อนร่วมงานไม่ดี หรือไม่มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทแห่งนี้ 

จึงตั้งวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาสาเหตุการขาด ลา และมาสายของพนักงาน และศึกษาปัจจัยที่เป็นแรงจูงใจในการทำงานของพนักงานบริษัทดังกล่าว 

ดังนั้นสิ่งที่ผู้วิจัยจะต้องศึกษาเพื่อที่จะสร้างแบบสอบถามงานวิจัย โดยจะต้องศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแรงจูงใจในการทำงาน ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวสามารถนำทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Clayton Alderfer ที่ได้พัฒนามาจากทฤษฎีความต้องการ Maslow มาปรับใช้ได้ ซึ่งจะกล่าวถึงวิธีพิจารณารูปแบบการตั้งคำถามในขั้นตอนต่อไป

2. พิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้

ในการพิจารณารูปแบบของแบบสอบถามที่ใช้ คุณสามารถหยิบยกข้อคำถามจากการศึกษาแนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้ได้ เช่น ทฤษฎีแรงจูงใจ ERG ของ Alderfer สรุปว่า ความต้องการของมนุษย์สามารถแบ่ง ออกเป็น 3 กลุ่มได้แก่

E ตัวแรกคือ ความต้องการเพื่อการดำรงชีวิต (Existence needs = E) เป็นความต้องการจาก ค่าจ้างเงินโบนัส และผลประโยชน์ตอบแทน ตลอดจนสภาพการทำงานที่ดี ดังนั้นข้อคำถามที่ควรตั้ง อาจจะเป็นการสอบถาม ความพอใจที่ได้รับค่าจ้างหรือโบนัสสิ้นปี หรือสภาพการทำงานที่ได้รับว่าเหมาะกับค่าจ้างหรือไม่ เป็นต้น

R ตัวที่สองคือ ความต้องการทางด้านความสัมพันธ์ (Relatedness needs = R) เป็นความต้องการทางสังคมที่ต้องการการยอมรับจากหัวหน้า เพื่อนร่วมงาน ซึ่งข้อคำถามที่ควรตั้งเช่น ท่านสามารถทำงานกับเพื่อนร่วมได้เป็นอย่างดีหรือไม่ หรือท่านได้รับการยกย่องจากหัวหน้าเมื่อทำงานได้สำเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ เป็นต้น

G ตัวที่สามคือความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth needs = G) เป็นความต้องการเติบโตจากหน้าที่การงาน ข้อคำถามที่ควรตั้ง เช่น ท่านได้รับพิจารณาการเลื่อนตำแหน่งอยู่เสมอ เป็นต้น

ซึ่งทฤษฎีดังกล่าว ผู้วิจัยสามารถนำทฤษฎีมาปรับใช้เป็นแนวทางในการตั้งข้อคำถาม เพื่อตอบวัตถุประสงค์และแก้ไขปัญหาวิจัยได้ ซึ่งข้อคำถามที่ตั้งนั้น ควรสอบถามเพื่อให้ผู้ตอบแบบสอบถามแสดงระดับความคิดเห็น หรือเรียกว่าข้อคำถามแบบมาตรวัด scale ซึ่ง

5 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมากที่สุด 
4 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นมาก
3 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นปานกลาง
2 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อย
1 หมายถึง ให้คะแนนความคิดเห็นน้อยที่สุด 

3. ร่างแบบสอบถาม

เมื่อได้ข้อคำถามที่สอบถามแล้ว ผู้วิจัยต้องทำการรวบรวมคำถามโดยแบ่ง เป็นด้านตามแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่ศึกษา ซึ่งในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยอาจจะร่างข้อคำถามในกระดาษ หรือสร้างข้อคำถามในโปรแกรม Word เลยก็ได้เช่นกัน

4. ตรวจสอบแบบสอบถาม

เมื่อร่างข้อคำถามเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยควรตรวจทานข้อคำถามก่อนว่าอ่านรู้เรื่องหรือไม่ มีคำผิดหรือไม่ แล้วข้อคำถามสอดคล้องกับสถานการณ์จริงหรือไม่ หากตรวจทานดูแล้วควรส่งให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความคล้องอย่างน้อย 3 ท่าน เพื่อนำข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญมาปรับปรุงข้อคำถามต่อไป 

ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า วิธีการทำ IOC ในการทดสอบนี้หากคะแนนของผู้เชี่ยวชาญที่ให้คะแนนแต่ละข้อคำถามรวมกัน หารจำนวนผู้เชี่ยวชาญ แล้วได้ค่าคะแนนแต่ละข้อมากกว่า 0.5 จึงถือว่าผ่าน สามารถนำไปทดสอบแบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาได้

5. ทำการทดลองแบบสอบถาม (Try-out)

เมื่อตรวจสอบแบบสอบถามเสร็จแล้ว การทำการทดลองแบบสอบถามถือเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัย จะต้องทำอีกกระบวนการหนึ่ง เพื่อให้ทราบถึงความชัดเจนในทุกๆ ด้านของข้อคำถาม หากข้อคำถามมีความชัดเจน ผู้ตอบแบบสอบถามที่อ่านจะเข้าใจตรงกัน เนื่องจากแบบสอบถามมีการใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย รัดกุม ไม่มีความบกพร่องทางภาษา ทำให้การตรวจให้คะแนนมีเกณฑ์มาตรฐานเดียวกัน 

ซึ่งวิธีการดังกล่าวเรียกว่า วิธีการ Try-out เป็นการทดสอบความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ กลุ่มตัวอย่างที่ใกล้เคียงกับกลุ่มที่ศึกษาประมาณ 30 คน ในการทดสอบครั้งนี้ 

หากคำตอบของกลุ่มตัวอย่างทุกคนมีการแปลความหมายมาแล้วว่ามีความสอดคล้องกัน จะต้องมีค่าคะแนนของค่า Reliability มากกว่า 0.7 ขึ้นไป จะทำให้การ Try-out ในครั้งนี้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จึงจะสามารถนำแบบสอบถามนี้ไปสร้างเป็นแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ได้ 

หากค่าคะแนนของค่า Reliability น้อยกว่า 0.7 อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจนหรือยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ ควรต้องมีการแก้ไขแล้วปรับปรุงในส่วนที่ยังมีข้อบกพร่องต่อไป

6. ปรับปรุงแบบสอบถาม

เมื่อทราบค่าคะแนนของค่า Reliability ว่าน้อยกว่า 0.7 ผู้วิจัยควรดูข้อเสนอแนะที่ผู้ตอบแบบสอบถามได้เสนอไว้ และนำมาปรับปรุง ซึ่งสาเหตุที่ทำให้ค่า Reliability น้อยกว่าเกณฑ์อาจเป็นเพราะข้อคำถามไม่ชัดเจน ยากเกินที่ผู้ตอบแบบสอบถามจะเข้าใจ หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามก็เป็นได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงควรแก้ไข ปรับปรุงข้อคำถามใหม่ และนำไป Try-out อีกครั้ง 

7. สร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์

เมื่อแบบสอบถามผ่านเกณฑ์ ผู้วิจัยสามารถสร้างแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ และนำไปสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างได้ทันที

การสร้างแบบสอบถามงานวิจัยข้อคำถามจะดีหรือไม่ดีนั้น ขึ้นอยู่ว่าคุณตั้งคำถามได้ตรงจุดหรือไม่ หากคุณตั้งคำถามที่ยากเกินไป หรือไม่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ตอบ จะทำให้ผู้ตอบไม่อยากตอบ เพราะไม่เข้าใจ ในขณะเดียวกันหากข้อคำถามมีปริมาณข้อคำถามที่เยอะเกินไป จนทำให้สร้างความกังวลใจกับผู้ตอบ จะส่งผลให้ไม่ตั้งใจตอบ ซึ่งเป็นผลเสียกับคุณเอง ทำให้ไม่ได้คำตอบที่แท้จริงในการแก้ไขปัญหานั้นๆ 

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

งานวิจัยที่ใช้สถิติ T-test คืออะไร ทำอย่างไรบ้าง

สถิติ T-test เป็นสถิตที่ใช้เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน และสัมพันธ์กัน ซึ่ง สถิติ T-test ที่ใช้ในงานวิจัยมี 3 แบบ แต่ละแบบใช้งานแตกต่างกันออกไป ดังนี้

1. One sample T-test 

ใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่น้อยกว่า 30 คน ส่วนใหญ่ใช้ในงานวิจัย สายวิทยาศาสตร์ 

ตัวอย่างเช่น ต้องการทราบสารประกอบที่อยู่ในทองคำน้ำหนัก 1 บาท จากการวัดทั้ง 10 ครั้ง พบว่า ผู้วิจัยสามารถวัดได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จากตามทฤษฎีสารประกอบที่อยู่ในทองคำ เมื่อรวมกันแล้วทองคำ 1 บาท ต้องมีน้ำหนัก 15.2 กรัม ดังนั้น สถิติ One sample T- test จะสามารถตัดสินใจได้ว่าน้ำหนักของสารประกอบที่อยู่ในทองจะแตกต่างไปจาก 15.2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหรือไม่ เป็นต้น

ดังนั้นสูตรของ One sample T- test จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

2. T-test Independent

ใช้กับงานวิจัยเชิงปริมาณที่มีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ส่วนใหญ่ใช้ในการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระจากกัน 

ตัวอย่างเช่น กลุ่มผู้บริโภคที่มีเพศ ต่างกัน มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพต่างกัน ซึ่ง

เพศชาย จะแทนค่าด้วย 1

เพศหญิง จะแทนค่าด้วย 2

หากทั้ง 2 เพศที่เป็นอิสระต่อกันจะมีตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพที่ต่างกันหรือไม่นั้น จะทราบได้ก็ต่อเมื่อผลค่า Sig. ที่วิเคราะห์ออกมาต่ำกว่า 0.05 ถือว่า มีการซื้ออาหารสุขภาพที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และจะสามารถรู้ได้อีกว่าเพศไหนมีการตัดสินใจซื้ออาหารสุขภาพมากกว่ากัน

ดังนั้น สูตรของ T-test Independent จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

3. Paired Sample T-test

ใช้กับงานวิจัยเชิงทดลอง ส่วนใหญ่ใช้ในงานวิจัยของครู ที่ต้องทำการทดลองผลคะแนนของนักเรียนกลุ่มตัวอย่างทั้งก่อนเรียน และหลังเรียน ว่ามีผลคะแนนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ เมื่อได้เรียนตามแผนการเรียนที่ครูพัฒนาขึ้น 

ตัวอย่างเช่น ผลคะแนนที่นักเรียนได้ทั้งก่อนและหลังการเรียน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน นักเรียนสอบได้คะแนนดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จากผลคะแนนถ้าหลังเรียน นักเรียนมีการสอบแล้วได้คะแนนดีขึ้นแสดงว่า แผนการเรียนการสอนที่ครูพัฒนาขึ้นมา ทำได้นักเรียนได้รับความรู้ สนุก จนทำให้ตั้งใจเรียนมากขึ้น ส่งผลให้ผลการเรียนดีขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิตินั่น

ดังนั้น สูตรของ Paired Sample T-test จึงสามารถเขียนได้ดังนี้

การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง_Save ข้อมูล SPSS_ความแปรปรวนระหว่างกลุ่ม_ความแปรปรวนภายในกลุ่ม_วิเคราะห์ ANOVA_การวิเคราะห์ ANOVA_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ spss_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม หน้าละ 1.50 บาท_รับคีย์ข้อมูลแบบสอบถาม_สถิติ t – test

จะเห็นได้ว่าสถิติ T-test มีการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งผู้วิจัยควรจะเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานวิจัยของคุณถึงจะได้คำตอบที่ถูกต้อง และนำผลวิจัยไปต่อยอดในงานอื่นต่อไป

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)