บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ

6 แหล่งสำหรับกำหนดปัญหางานวิจัย

ในการกำหนดปัญหางานวิจัยนั้นเป็นเรื่องที่ยากสำหรับผู้วิจัยพอสมควร เพราะการเลือกปัญหาสำหรับการวิจัยนั้น ผู้วิจัยบางท่านยังไม่ทราบว่าจะทำการวิจัยเรื่องอะไรดี โดยเฉพาะควรเริ่มทำการค้นคว้าศึกษาข้อมูลงานวิจัยจากที่ใด 

ซึ่งการค้นคว้าสำหรับการศึกษาข้อมูลในการทำงานวิจัยส่วนใหญ่ ผู้วิจัยมักจะสอบถาม หรือขอคำปรึกษาจากผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์มาก่อน แต่ในบางครั้งผลลัพธ์ที่ได้กลับเป็นคำตอบเดิมๆ ไม่มีความแตกต่างมากนัก ที่จะนำมากำหนดปัญหางานวิจัยให้ไม่ซ้ำกับของผู้วิจัยท่านอื่นได้

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส) _การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ

แต่ในความเป็นจริงเราอยากจะบอกว่า ยังมีแหล่งข้อมูลที่อื่นๆ ที่คุณสามารถศึกษาปัญหางานวิจัยได้อีกมากมาย บทความนี้เราจะแนะนำ 6 แหล่งสำหรับกำหนดปัญหางานวิจัย ที่ใช้เป็นแนวทางการกำหนดปัญหาสำหรับการทำงานวิจัยของคุณให้มีความแตกต่าง และไม่ซ้ำใคร

1. วิเคราะห์จากผลงานวิจัยของผู้วิจัยท่านอื่น

นำงานวิจัยของผู้อื่นที่คุณสนใจอยู่ก่อนแล้ว มาทำการวิเคราะห์เพื่อหาส่วนที่คุณยังไม่มีความเข้าใจอย่างกระจ่าง หรือเป็นหัวข้อที่ทำให้คุณต้องทำการศึกษาข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อหาคำตอบในข้อสงสัยนั้นๆ จากข้อสงสัยนั้นๆ คุณสามารถนำมาเป็นแนวทางสำหรับการกำหนดหัวข้อปัญหางานวิจัยได้ เป็นการพัฒนาต่อยอดงานวิจัยของผู้วิจัยอื่นให้ดีขึ้น

2. ขอคำแนะนำจากผู้ที่มีความรู้หรือมีประสบการณ์

การกำหนดหัวข้อปัญหางานวิจัย บางครั้งอาจเกิดจากการถกเถียง ข้อเสนอแนะ หรือข้อคิดจากผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ ตลอดจนเรื่องราวที่ข้อขัดแย้งที่ยังไม่ได้ทำการตรวจสอบจากวิธีการทำวิจัย 

3. วิเคราะห์แนวโน้มเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น

กำหนดหัวข้อจากการวิเคราะห์แนวโน้มจากสภาพสังคมในปัจจุบันที่กำลังจะเกิดขึ้น ซึ่งมีปัจจัยในการเปลี่ยนแปลงจากเวลา สถานที่ ความก้าวหน้าในทางด้านวิทยาการและนวัตกรรมต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดปัญหาเพิ่มขึ้น คุณสามารถนำปัญหานั้นที่มีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ้นมากำหนดเป็นหัวข้องานวิจัยได้

4. ขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ

คุณควรทำการกำหนดปัญหางานวิจัยไว้ 2-3 หัวข้อ และนำหัวข้อที่กำหนดนั้น ไปขอคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ ว่ามีความเป็นมาและความสำคัญ ตลอดจนสภาพปัญหา ในการกำหนดวัตถุประสงค์งานวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ เครื่องมืองานวิจัย รวมถึงสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์

และใช้ในการพิจารณาในการตัดสินใจในการประเมินว่าคุณสามารถทำหัวข้อใดได้ดีที่สุด เพื่อให้การทำงานวิจัยนั้นๆ มีคุณภาพและสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี

5. ศึกษาจากสถาบันหรือหน่วยงานที่มีการวิจัย

สถาบันหรือหน่วยงานที่มีการวิจัย มีการศึกษาค้นคว้าพัฒนาอยู่เสมอ เป็นอีกแหล่งหนึ่งที่คุณสามารถทำการศึกษา และขอคำปรึกษาจากบุคลากรที่ทำการวิจัย เพื่อจะได้ข้อคิดไว้ใช้ในการกำหนดปัญหาสำหรับการทำงานวิจัยต่อไปได้

6. จากปัญหาต่างๆ ทั้งของผู้อื่นและที่ประสบด้วยตนเอง

นอกจากการศึกษาจากผลงานวิจัยของผู้วิจัยท่านอื่น จากผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ วิเคราะห์จากสถามนการณ์ ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ หรือสถาบันหรือหน่วยงานที่มีการวิจัยแล้ว การกำหนดหัวข้อปัญหาที่เกิดจากความสงสัยของผู้อื่นและจากที่ตัวผู้วิจัยเองประสบมา นำมาทำการค้นหาวิธีการสำหรับการแก้ปัญหานั้นได้อีกด้วย

จาก 6 แหล่งที่กล่าวมา ก็พอเป็นแนวทางสำหรับการกำหนดหัวข้อปัญหางานวิจัยได้มากมาย และอาจทำให้เห็นปัญหาและข้อแตกต่างได้ชัดเจนกว่าข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์เพียงอย่างเดียว 

“เพราะปัญหาไม่ได้มีอยู่ในทุกๆ ที่ ฉะนั้นคุณไม่ควรโฟกัสเพียงแค่จุดๆ เดียว”

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *