เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง

6 ทางลัดการวิเคราะห์ SPSS ให้สำเสร็จอย่างมืออาชีพ

กระบวนการในการวิเคราะห์ SPSS ให้รวดเร็วอย่างมืออาชีพนั้น ทุกกระบวนการต้องมีการวางแผนการทำงาน ตั้งเป้าหมายที่ชัดเจน กำหนดเวลา และลงมือทำตามแผนที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ 

ในบทความนี้หากคุณกำลังสับสนในการเริ่ม วิเคราะห์ SPSS ว่าไม่รู้จะเริ่มต้นอย่างไร ทางบริษัทจะนำคุณมาสู่ทางลัดที่เป็นมืออาชีพ ว่าเขาทำงานอย่างไรกัน ที่จะสามารถทำให้ การวิเคราะห์ SPSS เสร็จเร็วตามเวลาที่กำหนดได้ 

ซึ่งก่อนอื่นต้องเริ่มจากรวบรวมแบบสอบถามมาตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลทุกฉบับ ที่ได้แจกไป หลังจากนั้นก็สามารถเริ่มทำวิเคราะห์ข้อมูลได้เลย โดยการเริ่มต้นกระบวนการทางลัดอย่างมืออาชีพดังนี้

1. การกำหนดรหัสข้อมูล

ในการกำหนดรหัสข้อมูลของแบบสอบถาม หากคุณยังเป็นมือใหม่ ให้กำหนดรหัสในกระดาษ หรือแบบสอบถามก่อนสักหนึ่งชุด เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดรหัสข้อคำถามข้อนั้น 

ซึ่งรหัสแต่ละตัวแปรผู้กำหนดรหัสจะต้องตั้งชื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ ใช้ได้ทั้งตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และต้องมีความยาวของอักษรไม่เกิน 8 ตัว โดยอาจใช้ตัวอักษรผสมกับตัวเลขก็ได้ แต่ห้ามเว้นวรรค 

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง
รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

2. การกำหนดชนิดตัวแปร

สำหรับการกำหนดชนิดของตัวแปร SPSS นั้น มีให้กำหนด 9 ชนิด ส่วนอีก 2 ช่องว่างที่เหลือให้กำหนดความกว้างของช่องตัวอักษร และตำแหน่งจุดทศนิยม ตามชนิดของข้อมูล ซึ่งหน้าต่างที่จะให้กำหนดตัวแปรแต่ละชนิดมีรายละเอียดให้เลือก ตามรูป

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

ซึ่งชนิดของตัวแปรแต่ละตัวสามารถอธิบายให้เข้าใจง่าย ได้ดังนี้

เขียนเค้าโครงวิทยานิพนธ์_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_บริการจ้างทำวิทยานิพนธ์_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_การทำงานวิทยานิพนธ์_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย_งานวิทยานิพนธ์_จ้างทําวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_หัวข้อวิจัย_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การเขียน Proposal งานวิจัย_การเขียนโครงร่างงานวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_บริการรับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การทำทีสิส_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_สถิติ t – test แตกต่าง

รับทำวิจัย รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำ is รับทำดุษฎีนิพนธ์

3. การตรวจสอบค่า missing

เมื่อกรอกข้อมูลตามรหัสที่ได้ตั้งไว้เสร็จแล้ว การตรวจสอบค่า missing เป็นสิ่งสำคัญมาก เนื่องจากค่า missing จะทำให้ผลข้อมูลผิดพลาด หรือผิดเพี้ยนได้ 

ดังนั้นให้คุณสังเกตผลใน output หากค่า missing มีตัวเลขโชว์ควรรีบกลับไปแก้ไขให้ถูกต้อง แสดงว่าการกรอกของคุณต้องมีข้อผิดพลาด และหากข้อคำถามข้อใดผู้ตอบแบบสอบถามไม่มีคนตอบควรกำหนดรหัสเป็นตัวเลข 99 เพื่อง่ายต่อการตรวจสอบ

4. การใช้คีย์ลัดในโปรแกรม SPSS

การใช้คีย์ลัดเป็นเครื่องมือสำคัญที่สามารถทำให้งานเสร็จไว้ขึ้น นอกจากนั้นยังสามารถตรวจสอบการคีย์ข้อมูลที่ผิดพลาดได้อย่างแม่นยำ และทำให้ค้นหาหรือแทนที่ได้อย่างรวดเร็ว อย่างเช่น

Ctrl+A ไว้ใช้สำหรับการเลือกข้อมูลทั้งหมด

Ctrl+C ไว้ใช้สำหรับการคัดลอก

Ctrl+V ไว้ใช้สำหรับการวางข้อมูล

Ctrl+X ไว้ใช้สำหรับการตัดข้อมูลเพื่อนำไปวางในตำแหน่งใหม่

Ctrl+F ไว้ใช้สำหรับการค้นหาข้อมูล

Ctrl+T ไว้ใช้สลับการทำงานสำหรับระหว่าง data view และ variable view

5. การวิเคราะห์ข้อมูลจากผล SPSS

เมื่อเช็คแล้วว่าข้อมูลที่กรอกไม่ผิดพลาด สามารถวิเคราะห์ข้อมูล และทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ ได้เลยโดยจะต้องใช้สถิติให้ถูกต้องกับตัวแปรของแบบสอบถามแต่ละชนิดด้วย

6. การ Save ข้อมูลมาลง Word เพื่อกันการผิดพลาดในการวิเคราะห์ข้อมูล

ในขั้นตอนนี้คุณสามารถ Save ข้อมูลออกมาไว้ที่ Word ได้ ทำให้คัดลอกตัวเลขสะดวกขึ้น และป้องกันการวิเคราะห์ข้อมูลผิดพลาด และนอกจากนั้นสามารถดึงข้อมูล Output ไปวิเคราะห์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีโปรแกรม SPSS ได้ 

ซึ่งขั้นตอนนี้เพียงแค่ใช้คีย์ลัด Ctrl+A เพื่อเลือกข้อมูล output ทั้งหมด Ctrl+C คัดลอกข้อมูล และ Ctrl+V เพื่อนำข้อมูบมาวางใน Word

6 ทางลัดนี้ถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมาก หากคุณนำไปใช้ เพราะนอกจากจะทำให้วิเคราะห์ข้อมูล ได้ถูกต้องแม่นยำแล้ว ยังสามารถทำให้งานของคุณเสร็จไวขึ้นด้วย

ช่องทางติดต่อ รับทำวิจัย
Tel: 0924766638
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

สแกนคิวอาร์โค้ด
เพื่อติดต่อรับทำวิจัย

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *