บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ

เขียนบทคัดย่อ (Abstract) งานวิจัย ไม่ใช่เรื่องยาก

การเขียนบทคัดย่อ (Abstract) งานวิจัย นับเป็นสิ่งสำคัญเพื่อใช้สำหรับเผยแพร่เนื้อหาบทความที่ถูกเรียบเรียงเนื้อหาข้อมูลสำหรับการค้นหาข้อมูลงานวิจัย และทำการสรุปใจความสำคัญๆ ทั้งหมดของบทความงานวิจัยไว้ เพื่อทำการเผยแพร่งานวิจัยทั้งในประเทศ และต่างประเทศ

ดังนั้น บทคัดย่อ (Abstract) ที่ดี มีความสำคัญมากในปัจจุบัน มีศักยภาพในการดึงดูด ชักชวนให้ผู้อ่านเข้ามาอ่านบทความเต็มของงานวิจัยนั้นๆ 

“บทคัดย่อ (Abstract) คืออะไร?”

บทคัดย่อ (Abstract) หรือ รายงานฉบับย่อที่เป็นอิสระและสมบูรณ์ในตัวเอง โดยเรียบเรียงและทำการสรุปจากลำดับเนื้อหาสำคัญของทุกๆ ส่วนในบทความงานวิจัย สามารถทำให้ผู้อ่านเข้าใจถึงภาพรวมของเนื้อหางานวิจัยนั้นๆ ได้อย่างชัดเจน

ฉะนั้น การเขียนบทคัดย่อ (Abstract) ที่ดี เริ่มจากการให้คำจำกัดความเนื้อหาที่ไม่ยาวจนเกินไป

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย

“ควรทำการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) เมื่อใด?”

สำหรับการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) งานวิจัย และบทคัดย่อภาษาอังกฤษนั้น จะทำการเขียนก็ต่อเมื่อ ผู้วิจัยต้องการส่งบทความให้กับทางวารสารออนไลน์ เพื่อทำการยื่นขอทุนสำหรับการทำงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ หรืองานดุษฎีนิพนธ์ โดยการเขียนข้อเสนอสำหรับบทความสำหรับที่ประชุม บทนำหนังสือ หรือการเขียนโครงงานวิจัยต่างๆ

ซึ่งในบทความนี้ ทางเราจะกล่าวถึง หลักความสำคัญ และเทคนิคการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) ที่ดีนั้นควรทำอย่างไรบ้าง

ข้อห้ามงานวิจัย_ทำงานวิจัย_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_ บทคัดย่องานวิจัย_Abtract งานวิจัย_กรอบแนวคิดวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_ดุษฎีนิพนธ์_การทำดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_ความล้มเหลวงานวิจัย_อาจารย์ที่ปรึกษา ปัญหา_อาจารย์ที่ปรึกวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_การทำ Thesis_การทำ Thesis (ธีสิส)_การทำธีสิส_การสืบค้นข้อมูลงานวิจัย_งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง_ตั้งหัวข้อเรื่องงานวิจัย_การตั้งหัวข้อวิจัย_เทคนิคตั้งหัวข้อวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การเขียนบทความวิจัย_บทความวิจัย_ งานทีสิส_วางแผนงานทีสิส_เขียนโครงร่างงานวิจัย_โครงร่างงานวิจัย_แปลบทความวิจัย_แปลงานวิจัย_เทคนิคแปลงานวิจัย_วางแผนงานวิจัย_เทคนิคทำงานวิจัย_เทคนิคการทำ IS_ผลงานวิชาการ_Present งานวิจัย_ความล้มเหลวการทำวิจัย

“หลักสำคัญ 3 ประการสำหรับการเขียนบทคัดย่อคืออะไร?”

1. Precision ความถูกต้อง 
ความถูกต้อง คือ การสรุปเนื้อหาประเด็นความสำคัญของงานวิจัยต้นฉบับ โดยเนื้อหาต้องไม่ตีความหมาย หรือการแสดงความคิดเห็นใดๆ ที่จะส่งผลให้ผู้อ่านเข้าใจสาระสำคัญของงานวิจัยต้นฉบับผิด

2. Concision ความสั้นกระชับ 
ความสั้นกระชับ สำหรับการเขียนบทคัดย่อ หรือบทคัดย่อภาษาอังกฤษควรมีเนื้อหาไม่เกิน 250 คำ โดยเน้นเนื้อหาที่เป็นสาระและประเด็นใจความสำคัญของงานวิจัยต้นฉบับ มีเนื้อหาบทความที่มีความสั้นกระชับเพียง 1 ย่อหน้า

3. Cariy ความชัดเจน  
ความชัดเจน ในการเขียนบทคัดย่อ หรือบทคัดย่อภาษาอังกฤษควรมีรูปประโยคเนื้อหาที่สมบูรณ์ ไม่ซับซ้อน สำหรับการนำเสนอบทคัดย่อ สามารถสื่อความหมายที่เข้าใจง่าย และมีความชัดเจน 

“เทคนิคการเขียนบทคัดย่อที่ดีเป็นอย่างไร?”

การเขียนบทคัดย่อที่ดีนั้น จะต้องมีเนื้อหาที่สามารถขยายขอบเขตความรู้ของผู้วิจัยได้อย่างถูกต้อง กระชับ ชัดเจน โดยมีวิธีเขียน ดังนี้

การว่าจ้างทำงานวิจัย_ว่าจ้างทำงานวิจัย_ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

1.  มีโครงสร้างแบบบทนำ-สรุป
มีการจัดวางรูปแบบโครงสร้างบทนำ-บทสรุป ที่เรียงลำดับเหตุการณ์ความสำคัญก่อน-หลัง ได้อย่างชัดเจน

2. มีเนื้อหาที่สอดคล้องกัน
มีการใช้ภาษาที่มีเนื้อหาที่รวบรัด สามารถสื่อข้อความได้เมื่ออยู่เดี่ยวๆ โดยมีการเชื่อมต่อสอดคล้องระหว่างเนื้อหาข้อมูลในส่วนอื่นๆ ได้

3. มีการจัดวางข้อมูลรูปแบบในบทคัดย่อ
ทำการจัดวางเนื้อหาข้อมูลของบทคัดย่อ (Abstract) ได้อย่างเหมาะสมกับหัวข้อ และบริบทในเนื้อหานั้นๆ เช่น ชื่อเรื่อง วรรคตอน บรรทัด ย่อหน้า สัญลักษณ์หัวข้อย่อย ตัวหนา เป็นต้น

เทคนิคเหล่านี้ จะช่วยให้การเขียนบทคัดย่อ (Abstract) ที่มีประสิทธิภาพจะมีผลต่อคุณภาพควรใช้ภาษา สำนวนที่ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา สั้นกระชับ อ่านง่าย โดยเฉพาะในส่วนของบทคัดย่อภาษาอังกฤษที่จะต้องระมัระวังในเรื่องการใช้ไวยกรณ์ให้ถูกต้อง และสื่อความหมายได้ชัดเจน และมีทุกองค์ประกอบของบทคัดย่อที่สมบูรณ์

สรุปได้ว่าการเขียนบทคัดย่อ (Abstract) คือ การสรุปผลงานวิจัยของผู้วิจัยทั้งหมดโดยทำการย่อเนื้อหางานให้เหลือเพียง 250 คำ ทั้งนี้เพื่อสื่อให้ผู้อ่าน หรือผู้วิจัยท่านอื่นๆ สามารถเข้าใจ รับรู้ และสื่อความหมายจากภาพรวมทั้งหมดของงานวิจัยนั้นๆ นั่นเอง

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *