บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท

ทำงานวิจัยเรื่องอะไรดี เป็นเรื่องที่ตนเองถนัด และอาจารย์ที่ปรึกษาอนุมัติให้ผ่าน

สิ่งแรกในการเริ่มทำงานวิจัย คือ “การตั้งหัวข้อวิจัย” และหัวข้อวิจัยที่ดีนั้น ควรจะเป็นหัวข้อเรื่องที่ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะทําการศึกษา หรือมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานอยู่บ้าง 

โดย หัวข้อที่จะทำงานวิจัยนั้น ไม่ควรยึดติดอยู่กับสถานการณ์ใดสถานการณ์หนึ่ง แต่ควรเป็นหัวข้อวิจัยที่สามารถนำไปใช้หรือขยายผลได้กับองค์กรอื่นๆ หรือเหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกันได้

“หัวข้อวิจัยที่ดีสามารถตั้งได้จากอะไร?”

บริการรับทำวิจัย, รับทำวิจัย, การทำงานวิจัย, งานวิจัย, ข้อมูลงานวิจัย, จ้างทำวิจัย 5 บท, รับทำวิทยานิพนธ์, รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา, บริการรับทำวิจัย.com, งานวิจัย คุณภาพ, ทำงานวิจัย, ทำงานวิจัย, เคล็ดลับการทำงานวิจัย, บริการงานวิจัย, บริการรับทำวิจัย, รับทำวิจัย ราคา, รับทำวิจัย, การทำงานวิจัย, งานวิจัย, บริการงานวิทยานิพนธ์, บริการรับทำวิทยานิพนธ์, รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา, รับทำวิทยานิพนธ์, การทำงานวิทยานิพนธ์, งานวิทยานิพนธ์, บริการงานดุษฎีนิพนธ์, บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์, รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา, รับทำดุษฎีนิพนธ์, การทำงานดุษฎีนิพนธ์, งานดุษฎีนิพนธ์, เทคนิคทำงานวิจัย, ปัญหางานวิจัย, ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย, กำหนดปัญหางานวิจัย, การเลือกหัวข้องานวิจัย, การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท, วิทยานิพนธ์ป. โท, การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย, วัตถุประสงค์การวิจัย, หัวข้องานวิทยานิพนธ์, หัวข้องานวิจัย, หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์, หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว, วิจัยหัวข้อ, งานวิจัยปริญญาตรี, งานวิจัยปริญญาโท
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

สิ่งแรกที่ควรทำการสังเกต คือ “กระแสสังคม หรือ ปัญหาสังคม ณ ตอนนั้น” เป็นปัญหาสังคมที่มีความสอดคล้องกับความสนใจของเราหรือไม่ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะทำให้เราสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการตั้งเป็นหัวข้อวิจัยได้ อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

โดยศึกษาจาก “งานวิจัย ทฤษฎี หรือแนวคิดที่เกี่ยวข้อง” หัวข้อวิจัยที่ดี จำเป็นที่จะต้องสามารถดัดแปลงมาเป็นการศึกษาวิจัยที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ การตั้งหัวข้อวิจัยจากงานวิจัย ทฤษฎี หรือแนวคิดที่เกี่ยวข้องนั้นมีส่วนช่วยในการตั้งหัวข้อวิจัยที่มีคุณภาพได้เป็นอย่างมาก

บริการรับทำวิจัย, รับทำวิจัย, การทำงานวิจัย, งานวิจัย, ข้อมูลงานวิจัย, จ้างทำวิจัย 5 บท, รับทำวิทยานิพนธ์, รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา, บริการรับทำวิจัย.com, งานวิจัย คุณภาพ, ทำงานวิจัย, ทำงานวิจัย, เคล็ดลับการทำงานวิจัย, บริการงานวิจัย, บริการรับทำวิจัย, รับทำวิจัย ราคา, รับทำวิจัย, การทำงานวิจัย, งานวิจัย, บริการงานวิทยานิพนธ์, บริการรับทำวิทยานิพนธ์, รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา, รับทำวิทยานิพนธ์, การทำงานวิทยานิพนธ์, งานวิทยานิพนธ์, บริการงานดุษฎีนิพนธ์, บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์, รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา, รับทำดุษฎีนิพนธ์, การทำงานดุษฎีนิพนธ์, งานดุษฎีนิพนธ์, เทคนิคทำงานวิจัย, ปัญหางานวิจัย, ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย, กำหนดปัญหางานวิจัย, การเลือกหัวข้องานวิจัย, การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท, วิทยานิพนธ์ป. โท, การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย, วัตถุประสงค์การวิจัย, หัวข้องานวิทยานิพนธ์, หัวข้องานวิจัย, หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์, หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว, วิจัยหัวข้อ, งานวิจัยปริญญาตรี, งานวิจัยปริญญาโท
อ้างอิงภาพ : www.pexels.com

เพราะการตั้งหัวข้อวิจัยที่อยู่ในกระแสสังคมปัจจุบัน และนำมาเชื่อมโยงกับงานวิจัย ทฤษฎี หรือแนวคิดที่เกี่ยวข้อง ที่เคยได้ทำการศึกษาไว้ก่อนแล้วนั้น จะทําให้ผู้วิจัยสามารถกำหนดหัวข้องานวิจัยได้โดยง่าย

นอกจากนี้ สิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยจะได้จากการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากงานวิจัย ทฤษฎี หรือแนวคิดที่เกี่ยวข้องที่เราสนใจ คือ เนื้อหาข้อมูลเบื้องต้น แนวทาง หรือขอบเขตในงานวิจัย ที่จำเป็นในการศึกษาค้นคว้าจากการทำงานวิจัยมาแล้ว

“แต่… ทางเราไม่ได้หมายความว่า ให้ท่านทำการลอกเลียน หรือลอกงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเรื่องนั้นมาทำซ้ำ!!!”
“ไม่ใช่แบบนั้นนะครับ!!!” 

เพราะ ในความเป็นจริงแล้ว เป็นไปไม่ได้เลยที่ผู้วิจัยจะทำการศึกษาวิจัยเรื่องใดก็ตาม จะสามารถคิดเองขึ้นมาใหม่ได้ทั้งหมด

อย่างที่กล่าวไปข้างต้นว่า การศึกษางานวิจัย ทฤษฎี หรือแนวคิดที่เกี่ยวข้องดังกล่าวนี้ จะทําให้ผู้วิจัยทราบเนื้อหาข้อมูลเบื้องต้น แนวทาง หรือขอบเขตในงานวิจัย ว่าควรจะดัดแปลงหัวข้องานวิจัยของเราเป็นไปในทิศทางใด เมื่อนําข้อมูลในปัจจุบัน มาเชื่อมโยงกับงานวิจัยที่เคยศึกษามาแล้ว

ซึ่ง จะทำให้เราระมัดระวังในการที่จะไม่ตั้งหัวข้องานวิจัยซ้ำกับงานวิจัยที่เคยมีการศึกษามาแล้วได้เป็นอย่างดี

จะทําให้ได้หัวข้อวิจัยรูปแบบใหม่ ที่มีความทันสมัยมากขึ้น และสามารถต่อยอดจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่เคยมีการศึกษามาบ้างแล้วได้เป็นอย่างดี

นอกจากนี้ ก่อนจะนำหัวข้อวิจัยไปนำเสนอผู้วิจัยทุกท่านควรทำการตั้งหัวข้องานวิจัยไว้ 2-3 หัวข้อ เพื่อขอคําแนะนําจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย ว่าหัวข้อดังกล่าวมีความน่าสนใจมากน้อยเพียงใด

อีกทั้งเพื่อให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยได้ แนะนำเป็นแนวทางที่เราจะนำมาพัฒนาดัดแปลง ทำให้หัวข้อวิจัยของเรานั้นสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น

สิ่งที่กล่าวไปทั้งหมดนี้ คือ จะทําให้การตั้งหัวข้อวิจัยผ่านการอนุมัติจากอาจารย์ปรึกษาได้โดยง่าย และตรงกับความสนใจของผู้วิจัยเองอีกด้วย

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638 คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE: @impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *