วิเคราะห์แบบสอบถามงานวิจัย ทำอย่างไร ที่นี่มีคำตอบ!

ในบทความนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับการวิเคราะห์แบบสอบถามงานวิจัย บอกเล่าถึงลำดับขั้นตอนในการทำงาน และปัญหาเบื้องต้นที่อาจจะพบเจอในระหว่างทำการวิเคราะห์แบบสอบถามงานวิจัยให้เข้าใจง่ายขึ้น

“รวบรวม, จำแนก, วิเคราะห์” ลำดับขั้นตอนทำการวิเคราะห์แบบสอบถามงานวิจัย

1. รวบรวม โดยทำการรวบรวมข้อมูลจากการออกไปลงพื้นที่เพื่อทำการสอบถามกลุ่มตัวอย่างประชากรที่ได้กำหนดคุณลักษณะไว้ให้ทำแบบสอบถามงานวิจัย และนำมาทำการตรวจสอบว่ากลุ่มประชากรได้ทำการตอบคำถามครบถ้วนหรือ จำนวนประชากรได้ทำการตอบคำถามครบตามจำนวนที่กำหนดไว้หรือไม่ 

เพราะถ้าหากตอบคำถามแบบสอบถามงานวิจัยไม่ครอบถ้วนและไม่ตรงตามจำนวนประชากรที่กำหนดจะส่งผลทำให้การวิเคราะห์ข้อมูลคาดเคลื่อน ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์และไม่สามารถตอบคำถามที่ตั้งสมมติฐานไว้ได้อย่างถูกต้องและชัดเจน

บริการรับทำวิจัย, รับทำวิจัย, การทำงานวิจัย, งานวิจัย, ข้อมูลงานวิจัย, จ้างทำวิจัย 5 บท, รับทำวิทยานิพนธ์, รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา, บริการรับทำวิจัย.com, งานวิจัย คุณภาพ, ทำงานวิจัย, ทำงานวิจัย, เคล็ดลับการทำงานวิจัย, บริการงานวิจัย, บริการรับทำวิจัย, รับทำวิจัย ราคา, รับทำวิจัย, การทำงานวิจัย, งานวิจัย, บริการงานวิทยานิพนธ์, บริการรับทำวิทยานิพนธ์, รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา, รับทำวิทยานิพนธ์, การทำงานวิทยานิพนธ์, งานวิทยานิพนธ์, บริการงานดุษฎีนิพนธ์, บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์, รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา, รับทำดุษฎีนิพนธ์, การทำงานดุษฎีนิพนธ์, งานดุษฎีนิพนธ์, เทคนิคทำงานวิจัย, ปัญหางานวิจัย, ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย, กำหนดปัญหางานวิจัย, การเลือกหัวข้องานวิจัย, การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท, วิทยานิพนธ์ป. โท, การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย, วัตถุประสงค์การวิจัย, หัวข้องานวิทยานิพนธ์, หัวข้องานวิจัย, หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์, หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว, วิจัยหัวข้อ, งานวิจัยปริญญาตรี, งานวิจัยปริญญาโท, การทำ IS, การทำสารนิพนธ์, ทักษะการทำงานวิจัย, ทักษะพื้นฐานงานวิจัย,

2. จำแนก เมื่อทำการตรวจสอบข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ต่อมาเป็นขั้นตอนของการคีย์ข้อมูลลงในโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ SPSS เพื่อทำการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลที่ได้จากการตอบคำถามในแบบสอบถามงานวิจัย โดยการกำหนดการตั้งค่ารหัสข้อมูลที่ใช้ในการแทนผลต่างๆ ออกมาในรูปแบบสถิติที่ทำการวิเคราะห์ในการทำงานวิจัยนั้นๆ 

3. วิเคราะห์ ทำการวิเคราะห์แบบสอบถามงานวิจัยออกมาในรูปแบบข้อมูลทางสถิติตามที่กำหนดไว้ในเนื้อหางานวิจัย โดยทำการแปรผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และทำความเข้าใจข้อมูลที่ได้รับเพื่อทำการเรียบเรียงเนื้อหาที่จะใช้นำเสนองานวิจัย และใช้ตอบคำถามในการทำงานวิจัย

2 ปัญหา 1 ข้อจำกัด ที่มักส่งผลกระทบต่อการวิเคราะห์แบบสอบถามงานวิจัย

1. ข้อมูลที่ทำการสอบถามได้ไม่ครบถ้วน เป็นปัญหาที่พบประจำในการสำรวจแบบสอบถามงานวิจัย สาเหตุหลักๆ ส่วนใหญ่จะเกิดจากการชี้แจงวัตถุประสงค์ในการตอบคำถามในแบบสอบถามงานวิจัยไม่ชัดเจน ไม่สามารถสื่อความหมายให้เห็นถึงวัตถุประสงค์การนำไปใช้ ทำให้กลุ่มประชากรตัวอย่างไม่ยินยอมให้ข้อมูลส่วนตัว และไม่ยินยอมที่จะตอบแบบสอบถาม ทำให้ได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วนและถูกต้องตามความเป็นจริง 

ความเครียดกับการทำงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_เคล็ดลับการทำงานวิจัย_บริการงานวิจัย_บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย ราคา_บริการงานวิทยานิพนธ์_บริการรับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_รับทำวิทยานิพนธ์_การทำงานวิทยานิพนธ์_งานวิทยานิพนธ์_บริการงานดุษฎีนิพนธ์_บริการรับทำดุษฎีนิพนธ์_รับทำดุษฎีนิพนธ์ ราคา_รับทำดุษฎีนิพนธ์_การทำงานดุษฎีนิพนธ์_งานดุษฎีนิพนธ์_เทคนิคทำงานวิจัย_ปัญหางานวิจัย_ข้อผิดพลาดในการทำวิจัย_กำหนดปัญหางานวิจัย_การเลือกหัวข้องานวิจัย_การทำวิทยานิพนธ์ปริญญาโท_วิทยานิพนธ์ป. โท_การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย_วัตถุประสงค์การวิจัย_หัวข้องานวิทยานิพนธ์_หัวข้องานวิจัย_หัวข้องานดุษฎีนิพนธ์_หัวข้อวิจัย การท่องเที่ยว_วิจัยหัวข้อ_งานวิจัยปริญญาตรี_งานวิจัยปริญญาโท_การทำ IS_การทำสารนิพนธ์_ทักษะการทำงานวิจัย_ทักษะพื้นฐานงานวิจัย_วิจัยการตลาด_บทคัดย่อ (Abstract) _การเขียนบทคัดย่อ_การเขียนบทความ_การทำโปรเจคจบ_โปรเจคจบ_การทำ PowerPoint_การนำเสนองาน (Presentation)_การทำ Presentation

2. รายละเอียดคำถามกำกวม ไม่ชัดเจน ปัญหาที่สองเกิดจากคำถามที่ระบุในแบบสอบถามงานวิจัยเป็นคำถามที่ค่อนข้างกำกวม มีรูปประโยคที่วกวนหรืออาจใช้คำที่ไม่ถูกต้อง สะกดผิดไม่ตรงตามหลักภาษา ทำให้ผู้ตอบคำถามเกิดความสับสน ไม่เข้าใจความหมายของคำถามนั้น และอาจเป็นคำถามที่มีรายเอียดไม่ชัดเจนทำให้สื่อความหมายไปอีกทางซึ่งเป็นข้อควรระวัง เพราะอาจก่อให้เกิดอคติกับผู้ตอบคำถามได้

3. ระยะเวลากระชั้นชิด เป็นข้อจำกัดที่มีผลกระทบมากที่สุด เพราะในการดำเนินกิจกรรมใดๆ ก็ตาม มักจะมี “เวลา” เป็นเครื่องกำหนดทั้งสิ้น ในการทำการวิเคราะห์แบบสอบถามงานวิจัก็เช่นกัน ซึ่งขั้นตอนในการวิเคราะห์มีรายเอียดที่ค่อนข้างซับซ้อน 

บริการรับทำวิจัย_รับทำวิจัย_การทำงานวิจัย_งานวิจัย_ข้อมูลงานวิจัย_จ้างทำวิจัย 5 บท_รับทำวิทยานิพนธ์_รับทำวิทยานิพนธ์ ราคา_บริการรับทำวิจัย.com_งานวิจัย คุณภาพ_ทำงานวิจัย_สร้างแบบสอบถามงานวิจัย_การสร้างแบบสอบถาม_การออกแบบ แบบสอบถาม_แบบสอบถามความพึงพอใจ_ตั้งคำถามแบบสอบถาม_เทคนิคการสร้างแบบสอบถาม_แบบสอบถามวิจัย_แบบสอบถามงานวิจัย_วิเคราะห์ข้อมูลสถิติ_การวิเคราะห์ข้อมูล_สถิติการวิเคราะห์_วิเคราะห์ spss_โปรแกรม spss_โปรแกรม LISREL_LISREL_การคำนวณกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane_การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_วิธีคำนวณกลุ่มตัวอย่าง_การเปิดตารางของ Krejcie & Morgan_ประชากร_กลุ่มตัวอย่าง_ประชากร กับ กลุ่มตัวอย่าง แตกต่างกันอย่างไร_การวิจัยเชิงปริมาณ

ยิ่งมีระยะเวลากำหนดที่กระชั้นชิดมากเกินไป ก็อาจส่งผลให้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามงานวิจัยนั้นๆ มีผลการวิเคราะห์ที่ไม่แม่นยำ ทำให้การตอบคำถามแบบสอบถามงานวิจัยในวัตถุประสงค์ของการทำงานวิจัยเป็นไปอย่างไม่สมบูรณ์เท่าที่ควรจะเป็น

ไม่ว่าในการทำงานใดๆ ก็ตามเราจะต้องมีการวางแผนและกำหนดระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อลดความกดดันในการทำงานให้มากที่สุด เผื่อเวลาในการใช้ทำการตรวจสอบงาน และจะต้องใส่ใจในทุกรายละเอียดในงานทีทำ ณ ขณะนั้นเสมอ เพราะต่อให้มีความรู้และเชี่ยวชาญมากเพียงใดเราก็ไม่ควรประมาท

ช่องทางติดต่อ
Tel: 0924766638
คุณอาจุ้ย
อีเมล: ichalermlarp@gmail.com
LINE:
@impressedu
(หยุดทุกวันอาทิตย์)

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top